ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กฎของโอห์ม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[File:OhmsLaw.svg|thumb|200px|ภาพแสดงความต่างศักย์ (V)ตกคร่อมตัวนำใดๆที่มีค่าความต้านทาน (R)ทำให้เกิดกระแส (I)ไหลผ่านต้วนำนั้น]]
[[ไฟล์:Ohms law voltage source.svg|thumb|200px|[[แหล่งจ่ายแรงดัน]] (V) เป็นตัวขับกระแส (I) ในวงจร ผ่าน [[ตัวต้านทาน]] (R)]]
 
'''กฎของโอห์ม''' ใช้อธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง[[กระแสไฟฟ้า]]กับ [[ความต่างศักย์ไฟฟ้า]] และ กระแสไฟฟ้ากับ[[ความต้านทาน]] ใน[[วงจรไฟฟ้า]] กล่าวคือ กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวนำใดๆ แปรผันโดยตรงกับความต่างศักย์ (แรงดันไฟฟ้า หรือแรงดันตกคร่อม) และแปรผกผันกับ(คือกระแสมีค่ามากหรือน้อยตามความต้านทานระหว่างสองจุดต่างศักย์นั้นที่กระแสไหลผ่าน) เขียนเป็นสมการได้ว่า
 
<math>I</math> ∝ <math>V</math>
 
และกระแสไฟฟ้าจะแปรผกผันกับความต้านทานระหว่างสองจุดนั้น(คือถ้าความต้านทานมากจะทำให้กระแสไหลผ่านน้อย, ถ้าความต้านทานน้อยจะทำให้มีกระแสมาก) เขียนเป็นสมการได้ว่า
 
<math>I</math> ∝ <math>1</math>/<math>R</math>
 
ในนำสูตรสมการทางคณิตศาสตร์ทั้งสองมารวมกัน, เขียนได้ดังนี้:
 
: <math> VI = IR \frac{V}{R}</math>
 
ในสูตรสมการทางคณิตศาสตร์, เขียนได้ดังนี้:
: <math> V = IR </math>
โดยที่ <math>V</math> คือความต่างศักย์ มีหน่วยเป็น [[โวลต์]],
<math>I</math> คือกระแสในวงจร หน่วยเป็น [[แอมแปร์]]