ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กรุงเทพมหานคร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Khampirat (คุย | ส่วนร่วม)
Rotlink (คุย | ส่วนร่วม)
fixing dead links
บรรทัด 120:
ต่อมาเมื่อถึงคราวเสียกรุงศรีอยุธยาใน [[พ.ศ. 2310]] หลังการกอบกู้อิสรภาพจากพม่า [[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]]ทรงสถาปนาเมืองธนบุรีศรีมหาสมุทรให้เป็นราชธานีแห่งใหม่ เมื่อวันที่ [[3 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2313]]<ref name="bkkstudy" /> ครั้นสิ้นรัชกาลสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ในวันที่ [[6 เมษายน]] [[พ.ศ. 2325]] สมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกได้ขึ้นเสวยราชสมบัติ ทรงพระนามว่า[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] ปฐมกษัตริย์แห่ง[[ราชวงศ์จักรี]] มีพระราชดำริว่า ฟากตะวันออกของกรุงธนบุรีมีชัยภูมิดีกว่าตะวันตก เพราะมีลำน้ำเป็นขอบเขตอยู่กว่าครึ่ง หากข้าศึกยกมาติดถึงชานพระนคร ก็จะต่อสู้ป้องกันได้ง่ายกว่าอยู่ข้างตะวันตก จึงโปรดเกล้าฯ ให้สร้างกรุงรัตนโกสินทร์ขึ้นทางฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยาให้เป็นราชธานีแห่งใหม่ โดยสืบทอดศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมจากพระราชวังหลวงของ[[กรุงศรีอยุธยา]]<ref name="bkkstudy" />
 
พระองค์มีพระบรมราชโองการให้[[พระยาธรรมาธิกรณ์]]กับ[[พระยาวิจิตรนาวี]] เป็นแม่กองคุมช่างและไพร่ไปวัดกะที่ดินเพื่อสร้างพระนครใหม่ในวันที่ [[8 เมษายน]] [[พ.ศ. 2325]] ทรงประกอบ[[พิธียกเสาหลักเมือง]] เมื่อวันอาทิตย์ เดือน 6 ขึ้น 10 ค่ำ ย่ำรุ่งแล้ว 9 บาท (54 นาที) ปีขาล [[จ.ศ. 1144]] จัตวาศก ตรงกับวันที่ [[21 เมษายน]] [[พ.ศ. 2325]] เวลา 6.54 น.<ref name="bkkstudy" /> และทรงประกอบพระราชพิธีปราบดาภิเษกในวันที่ [[13 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2325]]<ref name="bkkstudy">พระราชทานนามพระนครตามที่ได้กล่าวไว้[[#ชื่อเมือง|ข้างต้น]]แล้ว [http://web.archive.org/20080821022318/city.bangkok.go.th/th/bangkok-history.php ความเป็นมากรุงเทพฯ]</ref>
 
ต่อมาในรัชสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงเปลี่ยนชื่อพระนครจาก '''บวรรัตนโกสินทร์''' เป็น '''อมรรัตนโกสินทร์''' และมีฐานะในการปกครองส่วนท้องถิ่นเป็น "'''จังหวัดพระนคร'''"{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}}
บรรทัด 132:
== ชื่อเมือง ==
[[ไฟล์:Bangkok montage 2.jpg|left|250px|thumb|กรุงเทพมหานคร]]
คำว่า ''กรุงเทพมหานคร'' แปลว่า "พระนครอันกว้างใหญ่ดุจเทพนคร" มาจากชื่อเต็มว่า '''กรุงเทพมหานคร อมรรัตนโกสินทร์ มหินทรายุธยา มหาดิลกภพ นพรัตนราชธานีบูรีรมย์ อุดมราชนิเวศน์มหาสถาน อมรพิมานอวตารสถิต สักกะทัตติยวิษณุกรรมประสิทธิ์'''''<ref name="royin">[http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?Search=1&ID=639 จดหมายข่าวราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ 3 ฉบับที่ 31, ธันวาคม 2536]</ref> มีความหมายว่า ''พระนครอันกว้างใหญ่ ดุจเทพนคร เป็นที่สถิตของพระแก้วมรกต เป็นมหานครที่ไม่มีใครรบชนะได้ มีความงามอันมั่นคง และเจริญยิ่ง เป็นเมืองหลวงที่บริบูรณ์ด้วย[[นพรัตน์|แก้วเก้าประการ]] น่ารื่นรมย์ยิ่ง มีพระราชนิเวศใหญ่โตมากมาย เป็นวิมานเทพที่ประทับของพระราชาผู้อวตารลงมา ซึ่งท้าวสักกเทวราชพระราชทานให้ พระวิษณุกรรมลงมาเนรมิตไว้''<ref name="bbkgov">[http://web.archive.org/20071026091556/www.bangkok.go.th/th/bangkok-history.php ความเป็นมากรุงเทพฯ โดยกรุงเทพมหานคร]</ref>
 
โดยนามเดิมที่[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] โปรดเกล้าฯ พระราชทานในตอนแรกนั้น ใช้ชื่อว่า “กรุงรัตนโกสินทร์อินท์อโยธยา” ต่อมาในในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงแก้นามพระนครเป็น “กรุงเทพมหานคร บวรรัตนโกสินท์ มหินทอยุธยา” จนถึงรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ทรงเปลี่ยนคำว่า บวร เป็น อมร เปลี่ยนคำว่า มหินทอยุธยา โดยวิธีการสนธิศัพท์เป็น มหินทรายุธยา และเติมสร้อยนามต่อ ทั้งเปลี่ยนการสะกดคำ สินท์ เป็น สินทร์ จนเป็นที่มาของชื่อเต็มของ[[กรุงรัตนโกสินทร์]] ข้างต้น<ref name="bbkgov"/>
บรรทัด 396:
จากการขยายธุรกิจของต่างชาติส่งผลให้มีการจ้างแรงงานต่างด้าวเข้ามาทำงานในกรุงเทพมหานครจำนวนมาก<ref>http://www.ryt9.com/s/bkp/1375849</ref> ส่วนใหญ่มาจากประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งเป็นตัวเร่งให้เกิดปัญหาความแออัดในกรุงเทพมหานครมากขึ้น แรงงานต่างด้าวเหล่านี้ถูกยกเป็นข้อสนับสนุนและเป็นหลักฐานว่า กรุงเทพมหานครกำลังเผชิญกับภาวะการขาดแคลนแรงงานเพราะโครงสร้างประชากรในวัยทำงานลดน้อยลง<ref>http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2008q2/2008april29p1.htm</ref>
 
การคมนาคมเข้าสู่กรุงเทพมหานครมีมากกว่าจังหวัดอื่น เช่น[[ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ]]และ[[ท่าอากาศยานดอนเมือง]] รวมถึงถนนในกรุงเทพมหานครที่มีหลายร้อยสาย กรุงเทพมหานครเป็นที่ตั้งของนิคมอุตสาหกรรม 4 แห่ง<ref>http://archive.is/20120802174252/www.ieat.go.th/ieat/index.php?option=com_content&view=article&id=76&Itemid=116&lang=th</ref> ได้แก่ นิคมอุตสาหกรรมลาดกระบัง นิคมอุตสาหกรรมบางชัน นิคมอุตสาหกรรมอัญธานี โครงการ 2 และ นิคมอุตสาหกรรมอัญธานี
 
ในปี [[พ.ศ. 2552]] เป็นปีแรกในรอบห้าปีที่โครงสร้างเศรษฐกิจกรุงเทพมหานครหดตัวลงยกเว้นภาคธนาคารและภาคบริหารภาครัฐ<ref>http://203.155.220.117:8080/BMAWWW/upload/module_cms/title_cms/file_cbbe49a141f7a94c8a382670ac51c39d.pdf</ref>
บรรทัด 411:
[[ไฟล์:Main Auditorium of Kasetsart University.jpg|thumb|หอประชุมใหญ่[[มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]]]]
 
กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางการศึกษาของประเทศ มีสถาบันอุดมศึกษาตั้งอยู่เป็นจำนวนมาก ส่วนใหญ่มหาวิทยาลัยทั้งของภาครัฐและเอกชนตั้งอยู่ในหรือรอบ ๆ เมืองหลวง [[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]], [[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]], [[มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ]], [[มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]], [[มหาวิทยาลัยมหิดล]], [[มหาวิทยาลัยศิลปากร]]ปัญญาชนต่าง ๆ ของประเทศล้วนมาจากการบ่มเพาะทั้งศาสตร์และศิลป์ จากสถาบันอุดมศึกษาชั้นนำในระดับอุดมศึกษาของกรุงเทพมหานครทั้งสิ้น เป็นมหาวิทยาลัยของรัฐที่ปูรากฐานให้นักคิดมาเกือบศตวรรษ กว่าทศวรรษที่ผ่านมา แนวโน้มของการใฝ่หาการศึกษาระดับปริญญาทำให้เกิดมหาวิทยาลัยใหม่ ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของนักเรียนไทย กรุงเทพมหานครไม่กลายเป็นเพียงสถานที่ที่ผู้อพยพและคนต่างจังหวัดแสวงหาโอกาสในการทำงาน แต่ยังเป็นโอกาสที่จะได้รับปริญญาจากมหาวิทยาลัย [[มหาวิทยาลัยรามคำแหง]]ก่อตั้งเมื่อ พ.ศ. 2514<ref>[http://archive.is/20121222081549/www.ru.ac.th/newRU/aboutRU.html ข้อมูลมหาวิทยาลัย] มหาวิทยาลัยรามคำแหง สืบค้นเมื่อวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2555</ref> เป็นมหาวิทยาลัยตลาดวิชาเพียงแห่งเดียวในประเทศ แต่ก็มีการลงทะเบียนเรียนของนักศึกษาสูงที่สุดเมื่อเทียบกับมหาวิทยาลัยอื่น ๆ ของไทย มหาวิทยาลัยรามคำแหงเป็นหนึ่งในวิธีที่รัฐบาลไทยใช้จัดการกับการเพิ่มขึ้นของความต้องการการศึกษาในระดับอุดมศึกษา ความต้องการในการศึกษาระดับสูงได้นำไปสู่​​การก่อตั้งมหาวิทยาลัยและวิทยาลัยอื่น ๆ อีกมากมายในเขตเมือง วิทยาลัยอาชีวและวิทยาลัยเทคนิคก็เพิ่มขึ้นเช่นกัน ในปีที่ผ่านมา สถาบันเอกชนจำนวนมากได้ริเริ่มจัดตั้งโปรแกรมการแลกเปลี่ยนและหลักสูตรสองปริญญากับสถาบันจากตะวันตกขึ้นในกรุงเทพ การเพิ่มขึ้นของจำนวนโรงเรียนที่มีหลักสูตรอินเตอร์ได้ช่วยยกระดับมาตรฐานการแข่งขันของสถาบันของรัฐให้สามารถแข่งขันกับเอกชนได้ นอกจากนี้ยังมีมหาวิทยาลัยพุทธศาสนาอีกหลายแห่ง
{{โครงส่วน}}
 
บรรทัด 420:
กรุงเทพมหานครมีโรงพยาบาลตามกฎหมาย 130 แห่งในจำนวนนี้เป็นโรงพยาบาลเฉพาะทาง[[ทันตกรรม]] 2 แห่ง และศูนย์การแพทย์อีกหลายแห่ง ซึ่งรวมสถาบันแพทยศาสตร์ 8 แห่งจาก 15 แห่งของประเทศ โรงพยาบาลหลายแห่งในกรุงเทพมหานคร เป็นระดับตติยภูมิ ซึ่งรับการส่งต่อโรคที่ต้องการวิธีรักษาที่ซับซ้อนจากโรงพยาบาลต่าง ๆ ทั่วประเทศ กรุงเทพมหานครมีโรงพยาบาลรัฐ 34 แห่ง สังกัดกรุงเทพมหานคร 6 แห่ง <ref>http://citymap.bangkok.go.th/info/index2.asp?gid=5012</ref> มีโรงพยาบาลเอกชน 107 แห่ง<ref>http://citymap.bangkok.go.th/info/index2.asp?gid=5012</ref> ที่มีชื่อเสียงมาก เช่น [[โรงพยาบาลกรุงเทพ]] [[โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์]]เป็นโรงพยาบาลระดับนานาชาติ โรงพยาบาลที่ใกล้เคียง คือ [[โรงพยาบาลสมิติเวช]]และทั้ง 3 แห่งได้การรับรองจากคณะกรรมการร่วมระหว่างประเทศ{{อ้างอิง}}
 
ด้านโรงพยาบาลรักษาสัตว์ [[กรุงเทพมหานครและปริมณฑล]]มีทั้งหมดอย่างน้อย 44 แห่ง<ref>http://archive.is/20120630215108/pirun.ku.ac.th/~b5001214/a16.html</ref>
ด้านการเสริมสร้างสาธารณสุขกรุงเทพมหานครได้มีศูนย์กีฬาทางน้ำบึงหนองบอน<ref>http://www.thaidragonnews.com/index.php?option=com_content&view=article&id=5415:qq-&catid=46:2010-11-25-10-10-31&Itemid=86</ref> ไว้บริการประชาชน
 
บรรทัด 633:
* {{flagicon|Philippines}} กรุง[[มะนิลา]] [[ประเทศฟิลิปปินส์]] (2540)
* {{Flagicon|Kazakhstan}} [[อัสตานา]] [[ประเทศคาซัคสถาน]] (2547) <ref>http://www.oknation.net/blog/print.php?id=296127</ref>
* {{flagicon|China}} [[จังหวัดแต้จิ๋ว|แต้จิ๋ว]] ประเทศจีน (2548) <ref>{{cite web|url=http://office.bangkok.go.th/iad/eng/viewpage.php?page_id=38 |title="Agreement of Sister City Relations" |publisher=Office.bangkok.go.th |date= |accessdate=2010-06-27|archiveurl=http://archive.is/lnF4|archivedate=2012-07-02}}</ref>
* {{flagicon|USA}} [[นครนิวยอร์ก]] สหรัฐอเมริกา (2549)
* {{flagicon|South Korea}} กรุง[[โซล]] [[ประเทศเกาหลีใต้]] (2549)