ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Admissions Staff (คุย | ส่วนร่วม)
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
| ชื่อย่อ = สธ.มธ. / SIIT TU
| คำขวัญ =
| ก่อตั้ง = [[พ.ศ. 2535]]<sup>*</sup><br><small>นับตั้งแต่ก่อตั้งเป็นหลักสูตรหนึ่งในคณะวิศวกรรมศาสตร์ มธ.</small>
| ประเภท = สถาบันกึ่งอิสระ ใน[[มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์|ม.ธรรมศาสตร์]]
| ตำแหน่งหัวหน้า = ผู้อำนวยการ
บรรทัด 25:
 
== ประวัติ ==
เอสไอไอทีก่อตั้งในช่วงที่เศรษฐกิจของประเทศไทยกำลังเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว พร้อม ๆ กับการลงทุนจากต่างประเทศจำนวนมาก ความต้องการวิศวกรที่สามารถสื่อสารกับผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศได้เป็นอย่างดีเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว [[เกริกเกียรติ พิพัฒนเสรีธรรม|ศ. เกริกเกียรติ พิพัฒนเสรีธรรม]] อธิการบดีมธ.ในขณะนั้น กับ [[อานันท์ ปันยารชุน|นายอานันท์ ปันยารชุน]] [[พารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา|นายพารณ อิศรเสนา ณ อยุธยา]] และ[[นิรมล สุริยสัตย์|ท่านผู้หญิงนิรมล สุริยสัตย์]] ผู้นำของวงการอุตสาหกรรมในยุคนั้น จึงได้หารือและประสานงานจนได้ก่อตั้ง ''โครงการวิศวกรรมศาสตร์ภาคภาษาอังกฤษ'' (Engineering English Program - EEP) ขึ้นในคณะวิศวกรรมศาสตร์ ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อปี [[พ.ศ. 2535]]
 
เนื่องจากติดขัดด้านโครงสร้างซึ่งยังอยู่ในระบบราชการ และงบประมาณที่จำกัด เมื่อโครงการดังกล่าวดำเนินงานไปได้ระยะหนึ่งจึงได้เปลี่ยนสถานะ ก่อตั้งเป็นสถาบันกึ่งอิสระนอกระบบราชการ ไม่พึ่งงบประมาณแผ่นดิน และไม่หวังผลกำไร<ref name="Nishino-Chaisomphob" /> โดยได้รับความร่วมมือจาก [[สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย]] (ส.อ.ท.) และ[[สมาพันธ์องค์กรเศรษฐกิจญี่ปุ่น]] (''ไคดันเรน'' ในขณะนั้น ปัจจุบันคือ ''นิปปอน ไคดันเรน'') ใช้ชื่อว่า '''สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติ แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์''' (International Institute of Technology - IIT) เมื่อวันที่ [[16 กันยายน]] [[พ.ศ. 2537]] และต่อมาได้รับพระราชทานชื่อสถาบันจาก[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช]] เมื่อวันที่ [[28 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2539]] เป็น '''สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร''' ตามพระนาม[[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี]] ดังเช่นทุกวันนี้
 
== วิทยาเขต ==
บรรทัด 75:
* [[วริษฐา จตุรภุช]] (สต๊อป) ศิลปินจาก The star
* [[วรรณวิไล เตชะสมบูรณ์]] (เมษา) ไฮโซชื่อดัง
 
== ผลงานวิจัย ==
;Research Centers and Units
เส้น 102 ⟶ 103:
{{รายการอ้างอิง}}
 
* [http://esi-topics.com/fbp/2004/december04-SandhyaBabel.html Sandhya Babel answers a few questions about this month's fast breaking paper in field of Engineering.] (ISI Essential Science Indicators) บทความวิชาการของอาจารย์สาขาเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อม เป็นบทความที่ถูกได้รับการอ้างถึงมากที่สุดในสายวิศวกรรม ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2547
 
== ดูเพิ่ม ==