ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไวยากรณ์
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
| คณบดี = '''รศ.ดร.ชโยดม สรรพศรี'''
| สีประจำคณะ = {{color box|gold}} [[สีทอง]]
| สัญลักษณ์คณะ = เฟือง, รวงข้าว และคันไถ
| วารสารคณะ = วารสารเศรษฐศาสตร์ <br>(J. of Economics)
| ที่อยู่ = [[ถนนพญาไท]] แขวงปทุมวัน [[เขตปทุมวัน]] [[กรุงเทพมหานคร]] 10330
บรรทัด 15:
 
== ประวัติ ==
ปี [[พ.ศ. 2510]] ศาสตราจารย์ อาภรณ์ กฤษณามระ คณบดีคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชีในขณะนั้น ได้ริเริ่มและเสนอโครงการยกฐานะแผนกวิชาเศรษฐศาสตร์ขึ้นเป็นคณะเศรษฐศาสตร์ต่อจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและสภาการศึกษาแห่งชาติ แต่สภาการศึกษาแห่งชาติได้พิจารณาหลักสูตรการศึกษาของโครงการดังกล่าวแล้วมีความเห็นว่า หลักสูตรนั้นมีความคล้ายคลึงกับหลักสูตรการศึกษาของแผนกวิชาการคลัง คณะรัฐศาสตร์ อยู่มาก น่าที่จะพิจารณารวมการดำเนินงานเข้าด้วยกัน จึงส่งเรื่องมาให้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยพิจารณาอีกครั้ง ต่อมาเมื่อปี [[พ.ศ. 2513]] มีพระราชกฤษฎีกาจัดตั้งคณะเศรษฐศาสตร์ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยให้เหตุผลในการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาฉบับดังกล่าวว่า เนื่องจากวิชาเศรษฐศาสตร์เป็นวิชาที่สำคัญและจำเป็นในการวางแผนพัฒนาประเทศประกอบกับขณะนั้น ในประเทศไทยยังขาดแคลนผู้เชี่ยวชาญทางด้านนี้จำนวนมาก การสอนวิชาเศรษฐศาสตร์ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยขณะนั้นได้แยกกันจัดดำเนินการโดยสองแผนกวิชา คือ แผนกวิชาเศรษฐศาสตร์ [[คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี]] และแผนกวิชาการคลัง [[คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย| คณะรัฐศาสตร์]] ให้ยุบแผนกวิชาเศรษฐศาสตร์และแผนกวิชาการคลัง แล้วจัดตั้งเป็นคณะเศรษฐศาสตร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และโอนอาจารย์จากทั้ง 2 แผนกมาสังกัดคณะใหม่ โดยในขั้นแรกเปิดสอน 4 แผนกวิชา ได้แก่ เศรษฐศาสตร์ทฤษฎี เศรษฐศาสตร์พัฒนาการ เศรษฐศาสตร์การเงินและการคลัง และเศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
 
== สัญลักษณ์ประจำคณะ ==
* '''ตราประจำคณะ''' ได้แก่ [[เฟือง]], [[รวงข้าว]] และ[[คันไถ]] ซึ่งเป็นตัวแทนของ [[อุตสาหกรรม|ภาคอุตสาหกรรม]], [[เกษตรกรรม|ภาคเกษตรกรรม]] และ[[หัตถกรรม|ภาคหัตถกรรม]]
* '''สีประจำคณะ''' คือสีทอง สื่อความหมายถึง [[ทองคำ]] ซึ่งเป็นมาตรฐานของเงินตรานั่นเอง
 
== หลักสูตร ==
[[ไฟล์:EconCU.png|thumb|right|200300px|บริเวณด้านหน้าของคณะเศรษฐศาสตร์]]
;ระดับปริญญาบัณฑิต
* หลักสูตรเศรษฐศาสตรบัณฑิต มี 9 สาขาวิชา ได้แก่