ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธรรมบท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''ธรรมบท''' เป็นชื่อประชุมพระพุทธฎีกาในรูปแบบร้อยกรอง และเป็นหนึ่ง 1 ในตำราพุทธศาสนาซึ่งได้รับความนิยมอ่านทั้งเป็นที่รู้จักมากที่สุด<ref name="best-known text">See, for instance, Buswell (2003): "rank[s] among the best known Buddhist texts" (p. 11); and, "one of the most popular texts with Buddhist monks and laypersons" (p. 627). Harvey (2007), p. 322, writes: "Its popularity is reflected in the many times it has been translated into Western languages"; Brough (2001), p. xvii, writes: "The collection of Pali ethical verses entitled ''Dhammapada'' is one of the most widely known of early Buddhist texts."</ref> ธรรมบทฉบับต้นที่สุดอยู่ใน[[ขุททกนิกาย]]ซึ่งเป็นหมู่หนึ่ง 1 ใน[[พระไตรปิฎก]]ฉบับ[[หีนยาน]]
 
[[พุทธโฆษะ]] นักวิชาการและนักวิจารณ์พุทธศาสนา อธิบายว่า พระพุทธฎีกาแต่ละส่วนที่บันทึกไว้นั้น[[พระโคดม]]ทรงแสดงไว้ต่างโอกาสแล้วแต่สถานการณ์จำเพาะที่บังเกิดขึ้นในพระชนม์และใน[[คณะสงฆ์|สังฆมณฑล]] เขาร่ายรายละเอียดสถานการณ์ดังกล่าวไว้ในงานเขียนเรื่อง "ธรรมบทอรรถกถา" ซึ่งต่อมากลายเป็นแหล่งตำนานพระพุทธประวัติ<ref>This commentary is translated into English as ''Buddhist Legends'' by E W Burlingame.</ref>
 
== ความเป็นมา ==
 
ตามประเพณี ธรรมบทนั้นประกอบด้วยพระพุทธฎีกาซึ่งพระโคดมตรัสไว้ในหลาย ๆ โอกาส<ref>Pertinent episodes allegedly involving the historic Buddha are found in the commentary (Buddharakkhita & Bodhi, 1985, p. 4). In addition, a number of the Dhammapada's verses are identical with text from other parts of the Pali [[tipitaka]] that are directly attributed to the Buddha in the latter texts. For instance, Dhammapada verses 3, 5, 6, 328-330 can also be found in [[Majjhima Nikaya|MN]] 128 (Ñā{{IAST|ṇ}}amoli & Bodhi, 2001, pp. 1009-1010, 1339 ''n''. 1187).</ref> "เพราะเหตุที่กลั่นตัวอย่างอันซับซ้อน ทฤษฎี ถ้อยคารม และระดับอันสูงของพระพุทธโอวาทให้เป็นร้อยกรองที่กระชับแต่โปร่งใสดังมณี ธรรมบทจึงช่วยให้วิถีพุทธเป็นที่เข้าถึงได้โดยทั่วกัน...อันที่จริง เป็นไปได้ว่า บ่อเกิดธรรมบทในช่วง 300 ปีก่อนคริสต์ศักราชนั้นโยงไยไปถึงการที่สังฆณฑลสมัยแรก ๆ ในอินเดียจำต้องถอดเอาโวหารธรรมแห่งถ้อยพระพุทธต้นฉบับออกเป็นภาษาชาวบ้าน"<ref>Wallis (2004), p. xi.</ref> ธรรมบทนี้เป็นส่วนหนึ่งของขุททกนิกายใน[[พระสูตร]]ของพระไตรปิฎก กระนั้น อย่างน้อยกึ่งหนึ่งของธรรมบทปรากฏในส่วนอื่น ๆ ของพระไตรปิฎกด้วย<ref>Geiger (2004), p. 19, para. 11.2 writes:
{{quote|More than half the verses may be found also in other canonical texts. The compiler of the [Dhammapada] however certainly did not depend solely on these canonical texts but also made use of the great mass of pithy sayings which formed a vast floating literature in India.}} In a similar vein, Hinüber (2000), p. 45, para. 90 remarks: "The contents of the [Dhammapada] are mainly gnomic verses, many of which have hardly any relation to Buddhism."</ref> ครั้นราว 400 หรือ 500 ปีก่อนคริสต์ศักราช พุทธโฆษะแต่งคำอธิบายธรรมบทเรียก "ธรรมบทอรรถกถา" มีเนื้อหา 305 เรื่องเพื่อขยายความเข้าใจร้อยกรองธรรมบท
 
ธรรมบทฉบับภาษาบาลีเป็นที่รู้จักมากที่สุด แต่ก็ปรากฏฉบับอื่นด้วย<ref name="Norman_papers"/>
 
== การจัดระเบียบ ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ธรรมบท"