ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เภสัชกร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 12:
#ชอบการท่องจำ เพราะต้องจำชนิด ส่วนประกอบของยา ชื่อยาและชื่อสารเคมีในการรักษาโรค ชื่อและประโยชน์ของต้นไม้ที่มียา
 
ความต้องการขั้นพื้นฐานสำหรับ[[การจดขึ้นทะเบียน]] (Registration) เป็นเภสัชกรรับอนุญาตจะต้องเป็น
ผู้ที่เรียนจบจาก[[คณะเภสัชศาสตร์]]ใน[[มหาวิทยาลัย]]ต่าง ๆ ซึ่งจะได้รับปริญญาดังนี้
*[[เภสัชศาสตรบัณฑิต (ภ.บ.)]] (Bachelor of Pharmacy : B.Pharm.)
*[[เภสัชศาสตรมหาบัณฑิตศาสตรบัณฑิต (ภ..)]] (Masterบริบาลเภสัชกรรม) (Doctor of Pharmacy : M.Pharm.D.)
*[[เภสัชบริบาลศาสตรบัณฑิต (ภบ.บ.)]] หรือ [[เภสัชศาสตรบัณฑิต(ภ.บ.)]] (บริบาลเภสัชกรรม) (Doctor of Pharmacy : Pharm.D.)
 
ระยะเวลาที่ใช้ในการสำเร็จการศึกษาจแตกต่างในแต่ละประเทศดังนี้
#[[ประเทศไทย]] ใช้เวลา 6 ปี ได้ ภ.บ. (B.Pharm.) หรือเรียน 6 ปี ได้ ภบ.บ. (Pharm.D.)
#[[สหภาพยุโรป]] (European Union) รวมถึง[[สหราชอาณาจักร]] เดิมเรียน 4 ปีได้ ภ.บ. (B.Pharm.) ปัจจุบันถูกแทนที่ด้วยเรียน 4 ปี ได้ ภ.. (แต่เรียก M.Pharm.)
#[[ประเทศออสเตรเลีย]] เดิมใช้เวลา 3 ปี ปัจจุบันเรียน 4 ปี ได้ ภ.บ. (B.Pharm.) ต่ออีก 2 ปีได้ ภ.ม. (M.Pharm.)
#[[สหรัฐอเมริกา]] เดิมใช้เวลา 4 ปี ได้ ภ.บ. (B.Pharm.) ต่อปัจจุบันเรียนเพิ่มอีก 2 ปีได้ ภบ.บ. (Pharm.D.) มีฐานะเทียบเท่ากับ แพทย์บัณฑิต (พ.บ.) (medical doctor : MD)
 
==หลักสูตรการเรียนเภสัชศาสตร์==