ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รถไฟความเร็วสูง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
/* ความเร็วในการเดินรถไฟสมประสงค์ สัตยมัลลี (2553),รถไฟความเร็ว,วิศวกรรมสาร,วิศวกรรมสถานแห่งป...
บรรทัด 20:
'''รถไฟความเร็วสูงมาก (Very High Speed)
ความเร็วที่ใช้อยู่ในช่วง 310 กม./ชั่วโมง ถึง 500 กม./ชั่วโมง'''
รถไฟความเร็วสูงมากเป็นศัพท์ทางเทคนิคที่ใช้ในการเรียกรถไฟที่ความเร็วสูงที่สุด ในปี พ.ศ. 2543 ที่ทำความเร็วได้สูงกว่า 300 กม./ชั่วโมง มีการวางแผนว่ารถไฟโดยทั่วไปจะสามารถทำความเร็วสูงถึง 350 กม./ชั่วโมง ในอนาคตอันใกล้นี้โดยรถไฟตระกูล ซึ่งที่จริงแล้วในบางประเทศก็เปิดให้บริการVelaro ของ Siemens สามารถวิ่งที่ย่านความเร็วดังกล่าวได้แล้ว
[[ไฟล์:JR-Maglev-MLX01-901 002.jpg|thumb|300px |left|รถไฟความเร็วสูง JR Maglev MLX01 ของประเทศญี่ปุ่น]]
'''รถไฟความเร็วสูงพิเศษ (Ultra High Speed)
บรรทัด 28:
'''รถไฟที่ความเร็วสูงกว่า 1000 กม./ชั่วโมง'''
ในการออกแบบยานพาหนะจะขึ้นอยู่กับหลักอากาศพลศาสตร์ และสภาพแวดล้อมภายนอก เทคโนโลยีรถไฟเริ่มที่จะแสดงให้เห็นความเป็นไปได้ของสภาพการไหลของอากาศที่เร็วกว่า [[ความเร็วเสียง]] ในระดับความเร็วที่ 0.8 [[มัค]] หรือเท่ากับ 988 กม./ชั่วโมง และมีความเป็นไปได้ที่จะมีความเร็วมากกว่ากว่าที่เป็นอยู่ เมื่อพิจารณาถึงศักยภาพของรถไฟรุ่นใหม่ในปัจจุบันที่ส่งผลสำคัญต่อความเร็วสูงสุดจริงของรถไฟ แต่เนื่องจากปรากฏการณ์ที่เรียกกันว่า [[Prandtl-Glauert Singularity]]หรือ[[Vapor Cone]]หรือ [[Shock Collar]] จะสร้างผลเสียหายอย่างมากกับยานพาหนะเมื่อคลื่นเสียงสะท้อนกับพื้นรอง[[รางรถไฟ]] กลับคืนสู่ตัวรถไฟทำให้มีโอกาสเกิดการระเบิดออกได้ในอากาศ ดังนั้นรถไฟที่จะเดินทางด้วยความเร็วขนาดนี้หรือสูงกว่านี้ต้องเป็นระบบรถไฟที่เดินทางในระบบสุญญากาศ
 
== การให้บริการรถไฟความเร็วสูงในประเทศต่างๆ ==
รถไฟความเร็วสูง ตามนิยามของ International Union of Railways หรือ UIC หมายถึง ระบบรถไฟซึ่งมีขบวนรถไฟและโครงสร้างพื้นฐานที่สามารถทำให้การเดินรถในสภาวะปกติมีความเร็วสูงกว่า 250 กม./ชม. บนเส้นทางที่ก่อสร้างใหม่ หรือความเร็วที่มากกว่า 200 กม./ชม. เมื่อรถวิ่งบนเส้นทางที่มีอยู่ในปัจจุบัน