ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตัวกระตุ้นอันตราย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
Tikmok (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ให้ถูกต้องยิ่งขึ้น
 
บรรทัด 1:
<!--ตัวกระตุ้นอันตราย "noxious stimuli" "noxious stimulus" ตัวกระตุ้นระคาย ตัวกระตุ้นรบกวน ตัวกระตุ้นให้โทษ ตัวกระตุ้นโนซิเซ็ปเตอร์ "nociceptive stimuli" "nociceptive stimulus" ตัวกระตุ้นเจ็บปวด ตัวกระตุ้นที่เจ็บปวด ตัวกระตุ้นความเจ็บปวด "painful stimuli" "painful stimulus" -->
'''ตัวกระตุ้นอันตราย''' ({{lang-en|noxious stimulus}})''' เป็น''ปรากฏการณ์'' ที่ทำให้เกิดความเสียหายใน[[เนื้อเยื่อจริงๆ]]จริง ๆ หรือ''อาจจะ''ทำให้เกิดความเสียหายในเนื้อเยื่อได้<ref name="pmid18583048">{{cite journal | author = Loeser JD, Treede RD. | title = The Kyoto protocol of IASP Basic Pain Terminology. | journal = Pain | volume = 137 | issue = 3 | pages = 473–7 | year = 2008 | pmid = 18583048 | doi = 10.1016/j.pain.2008.04.025 }}</ref> เป็นสิ่งที่จะต้องมีก่อนที่[[noiceptionnociception|โนซิเซ็ปชั่น]] (คือการส่งสัญญาณประสาทสื่อว่า มีตัวกระตุ้นอันตราย) จะเกิดขึ้นได้ และโนซิเซ็ปชั่นก็จะต้องมี ก่อนที่[[ความเจ็บปวด]]จะะเกิดขึ้นได้<ref name="pmid18583048" />
 
ตัวกระตุ้นอันตรายอาจจะเป็นแบบ[[กลศาสตร์|เชิงกล]] (เช่นการหนีบ การหยิก หรือการทำเนื้อเยื่อให้ผิดรูป) [[เคมี|เชิงเคมี]] (เช่นการสัมผัสกระทบ[[กรด]]หรือสารระคายเคืองอย่างอื่น) หรือ[[อุณหภูมิ|เชิงอุณหภูมิ]] (คือมีอุณหภูมิสูงหรือต่ำ ร้อนหรือเย็น)
 
มีความเสียหายของเนื้อเยื่อบางประเภทที่ไม่มี[[sensory receptor|ตัวรับความรู้สึก]]ใดๆใด ๆ ตรวจจับได้ จึงไม่เป็นเหตุของความเจ็บปวด ดังนั้น ตัวกระตุ้นอันตรายทั้งหมด จึงไม่ใช่เป็น[[adequate stimulus|ตัวกระตุ้นที่เหมาะสม]] (adequate stimulus<ref>'''การกระตุ้นที่เหมาะสม''' (adequate stimulus) เป็นคุณสมบัติอย่างหนึ่งของตัวรับความรู้สึก ที่กำหนดประเภทแห่งพลังงานซึ่งตัวกระตุ้นตอบสนองด้วย[[Transduction (physiology)|การถ่ายโอนตัวกระตุ้น]] การกระตุ้นที่เหมาะสมขึ้นอยู่กับกลไกของการถ่ายโอนตัวกระตุ้นของเซลล์ และกับ[[ion channel|ประตูไอออน]] (ion channel) ที่ถูกใช้เป็นส่วนของ[[เยื่อหุ้มเซลล์]]ของตัวรับความรู้สึก ตัวอย่างเช่น แสง เป็นการกระตุ้นที่เหมาะสมสำหรับเซลล์รับแสงใน[[เรตินา]]</ref>) ของ[[โนซิเซ็ปเตอร์]] ตัวกระตุ้นที่เหมาะสมของโนซิเซ็ปเตอร์จึงเรียกว่า '''ตัวกระตุ้นโนซิเซ็ปเตอร์''' ({{lang-en|nociceptive stimulus}})''' ซึ่งมีนิยามว่า<ref>"an actually or potentially tissue damaging event transduced and encoded by nociceptors."</ref>เป็น''ปรากฏการณ์'' ที่ทำให้เกิดความเสียหายในเนื้อเยื่อจริงๆจริง ๆ หรือ''อาจจะ''ทำให้เกิดความเสียหายในเนื้อเยื่อได้ เป็นปรากฏการณ์ที่โนซิเซ็ปเตอร์ทำ[[Transduction (Physiology)|การถ่ายโอน]]<ref name=Transduct>ในสรีรวิทยา '''การถ่ายโอน''' ในสรีรวิทยา ({{lang-en|Transduction (Physiology)}})''' คือการเปลี่ยนตัวกระตุ้นแบบหนึ่งไปยังอีกแบบหนึ่ง การถ่ายโอนใน[[ระบบประสาท]]มักจะหมายถึงการส่งสัญญาณเพื่อแจ้งการตรวจพบตัวกระตุ้น โดยที่ตัวกระตุ้นเชิงกล ตัวกระตุ้นเชิงเคมี หรือเชิงอื่นๆอื่น ๆ ถูกเปลี่ยนเป็น[[ศักยะงาน|ศักยะงานประสาท]] แล้วส่งไปทาง[[แอกซอน]] ไปสู่[[ระบบประสาทกลาง]]ซึ่งเป็นศูนย์รวบรวมสัญญาณประสาทเพื่อประมวลผล</ref>และทำ[[การเข้ารหัส]]<ref>'''การเข้ารหัส''' โดยรวมๆรวม ๆ ก็คือ การแปลงข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบหนึ่ง ไปเป็นข้อมูลในอีกรูปแบบหนึ่ง ตัวอย่างเช่น เข้ารหัสเสียงดนตรีไปเป็นหลุมเล็กๆเล็ก ๆ บนซีดีที่ใช้เล่นเพลงนั้นได้</ref><ref name="pmid18583048" />
 
==ดูเพิ่ม==
* [[ตัวกระตุ้น]]
* [[โนซิเซ็ปเตอร์]]
* [[โนซิเซ็ปชั่น]]
 
==หมายเหตุเชิงอรรถและอ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
{{reflist}}
 
[[Categoryหมวดหมู่:ความเจ็บปวด]]
[[Categoryหมวดหมู่:โนซิเซ็ปชั่น]]
[[Categoryหมวดหมู่:ระบบรับความรู้สึก]]