ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การเมืองฝ่ายซ้าย–ฝ่ายขวา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
คำว่า '''ฝ่ายซ้าย-ฝ่ายขวา''' ({{lang-en|left-right politics}}) มีที่มาจากในช่วง[[การปฏิวัติฝรั่งเศส]] ในรัชสมัยของ[[พระเจ้าหลุยส์ที่ 16 แห่งฝรั่งเศส]] (ราว [[ค.ศ. 1790]]) หลังจากนั้นได้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองไปอยู่ในรูปแบบสาธารณรัฐ และมีสมัชชาแห่งชาติทำหน้าที่[[รัฐสภา]]ประกอบด้วยตัวแทนจากหลายภาคส่วน
* ภายในห้องประชุมสมัชชา กลุ่มตัวแทน[[กรรมกร]] [[ชาวไร่]][[ชาวนา]] ถูกจัดให้นั่งทางด้านซ้ายของท่านประธานสมัชชา (Leftleft-wing) โดยข้อเสนอแนะของตัวแทนของคนยากจน หรือที่เรียกในสมัยนั้นว่า [[กระฎุมพี|ไพร่กระฎุมพี]] ก็จะถูกเรียกว่าข้อเรียกร้องของ '''ฝ่ายซ้าย'''
* ขณะที่ตัวแทนของ[[ขุนนาง]] [[ทหาร]] [[นักบวช]] และคนร่ำรวย หรือพวก[[ศักดินา]] นั่งทางด้านขวา (Rightright-wing) โดยข้อเสนอของกลุ่มคนเหล่านี้ ก็จะถูกเรียกว่าข้อเรียกร้องของ '''ฝ่ายขวา'''
 
ต่อมาจนถึงยุค[[การปฏิวัติรัสเซีย พ.ศ. 2460|การปฏิวัติรัสเซีย]]และ[[ประเทศจีน#.E0.B8.9B.E0.B8.A3.E0.B8.B0.E0.B8.A7.E0.B8.B1.E0.B8.95.E0.B8.B4.E0.B8.A8.E0.B8.B2.E0.B8.AA.E0.B8.95.E0.B8.A3.E0.B9.8C|จีน]] มีการตีความ ไพร่กระฎุมพี เปลี่ยนเป็น[[ชนชั้นกรรมาชีพ]] และศักดินา เปลี่ยนเป็น[[นายทุน]] ทำให้อธิบายได้ว่า รัสเซียและจีน กลายเป็น '''ฝ่ายซ้าย''' คือฝ่ายที่คนจนเป็นใหญ่ในแผ่นดิน ในขณะที่[[สหรัฐอเมริกา]] และค่ายประชาธิปไตย เป็น '''ฝ่ายขวา''' คือฝ่ายที่คนรวยเป็นใหญ่ในแผ่นดิน
บรรทัด 14:
 
== ฝ่ายซ้าย-ฝ่ายขวา ในประเทศไทย ==
'''ฝ่ายซ้ายเก่า''' คือกลุ่มคนที่เป็น[[คอมมิวนิสต์]] ช่วงตั้งแต่ตั้ง[[พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย]] ในปี [[พ.ศ. 2475]] จนถึงยุคที่ถูกสลายหลังจาก จอมพล [[สฤษดิ์ ธนะรัชต์|จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์]] ปราบปรามอย่างหนัก จนทำให้ต้องหลบหนีเข้าไปอาศัยอยู่ใน[[ป่า]] ตัวอย่างบุคคลที่เรียกได้ว่าเป็นตัวแทนของฝ่ายซ้ายเก่า เช่น [[จิตร ภูมิศักดิ์]] [[ทองใบ ทองเปาด์]] [[อัศนี พลจันทร์]] พันโท [[พโยม จุลานนท์]] เป็นต้น
 
'''ซ้ายใหม่''' ต่อมาอาจกล่าวได้ว่ากลุ่มฝ่ายซ้ายใหม่ คือ นักศึกษายุค[[สายลมแสงแดด]] จนถึงช่วง [[14 ตุลา]] และ [[6 ตุลา]] โดยกลุ่มคนกลุ่มนี้ไม่ได้รับอิทธิพลของพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยแต่เพียงอย่างเดียว แต่ว่ายังได้รับอิทธิพลจาก[[ฮิปปี้]]อเมริกัน [[ขบวนการบุปผาชน]] การต่อต้าน[[สงครามเวียดนาม]]ของฝั่งประเทศตะวันตก
 
'''ซ้ายใหม่''' หลังจากวันเวลาผ่านไป ซ้ายเก่า และซ้ายใหม่ข้างต้น ถูกนับรวมเป็น ซ้ายเก่าทั้งหมด และได้มีกลุ่มฝ่ายซ้ายใหม่เกิดขึ้น คือ กลุ่มคนที่มีแนวคิดการเมืองก้าวหน้าทั้งมวล เช่น [[สิทธิสตรี]] [[รัฐสวัสดิการ]] [[มาร์กซิสต์]] เป็นต้น กลุ่มซ้ายใหม่นี้ไม่ได้รับอิทธิพลจากพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยเลย เพราะเป็นกลุ่มที่ถูกเรียก หลังจากพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยยุติบทบาทไปแล้ว ถือว่าเป็นซ้ายใหม่
 
'''ฝ่ายขวา''' คือกลุ่มคนที่เป็นคนในชนชั้นศักดินา ขุนนาง ทหาร ผู้ที่มักถูกเรียกว่าว่าเป็นฝ่ายขวา เช่น [[สนธิ ลิ้มทองกุล]] พลเอก [[เปรม ติณสูลานนท์]] [[อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ]] พลเอก [[สพรั่ง กัลยาณมิตร]] เป็นต้น จากการตั้งนิยามแบบกว้างของฝ่ายซ้ายว่า กลุ่มคนฝ่ายขวา คือกลุ่มที่ไม่ยอมรับ[[การเลือกตั้ง]] หรือการเรียกร้องให้[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]] มหากษัตริย์ใช้ พระราชอำนาจตามรัฐธรรมนูญ (มาตรา 7) ในการแต่งตั้ง[[นายกรัฐมนตรี]] (จากเหตุการณ์ก่อนการ[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549]]) แต่การนิยามเช่นนี้อาจไม่ถูกต้องครบถ้วนเสมอไป
 
== ฝ่ายซ้าย-ฝ่ายขวา กับระบอบประชาธิปไตย ==
 
โดยภาพรวมอาจมองได้ว่า [[ระบอบประชาธิปไตย]] เป็นแบบกลางๆกลาง ๆ และค่อนไปทางซ้าย คือสามารถมีได้ทั้งฝ่ายซ้ายและฝ่ายขวา แต่อาจแยกกลุ่มคนในระบอบประชาธิปไตยออกเป็นหลายกลุ่มย่อย เช่น กลุ่มที่นิยมการเลือกตั้ง แต่ถ้ากีดกัน เพศที่สาม สตรี คนข้ามชาติ คนจน ระดับการศึกษา ก็จะนับว่าเป็นสายกลางค่อนไปทางขวา และกลุ่มคนชั้นสูงที่มีความเห็นใจกับคนจน คนด้อยโอกาส และได้สังคมสงเคราะห์ให้กับพวกเขา แต่สนับสนุน[[ระบบสวัสดิการสังคม]] ก็นับเป็นพวกฝ่ายซ้ายเช่นกัน
 
== ดูเพิ่ม ==
== ข้อมูลเพิ่มเติม ==
* [[คลั่งเจ้า]]
* [[ประชาธิปไตย]]
* [[สังคมนิยม]]
เส้น 32 ⟶ 33:
* [[อนาธิปไตย]]
* [[อนุรักษนิยม]]
* [http://th.wikisource.org/wiki/รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย_พุทธศักราช_๒๕๕๐/หมวด_๑#.E0.B8.A1.E0.B8.B2.E0.B8.95.E0.B8.A3.E0.B8.B2_.E0.B9.97 มาตรา 7 ในรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550]
 
[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์การเมือง]]
 
[[de:Links und rechts]]
[[nl:Links en rechts (richting)]]