ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โน้ตดนตรี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{รอการตรวจสอบ}}
{{ชื่อความหมายอื่น|ดนตรี||โน้ต}}
[[ไฟล์:Audio a.svg|200px|right]]
'''โน้ตดนตรี''' หรือเรียกกันโดยทั่วไปว่า ''โน้ต'' มีความหมายได้สองทาง หมายถึงสัญลักษณ์ต่างๆ ที่ใช้ในการนำเสนอ[[ระดับเสียง]] (pitch) และความยาวของ[[เสียง]]ในทางดนตรี หรือหมายถึงตัวเสียงเองที่เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์เหล่านั้น โน้ตดนตรีแต่ละเสียงจะมีชื่อเรียกประจำของมันเองในแต่ละภาษา เช่น โด-เร-มี-ฟา-ซอล-ลา-ที บางครั้งอาจเขียน[[อักษรละติน]] A ถึง G แทนโน้ตดนตรี
บรรทัด 60:
|}
 
== ชื่อเรียกตัวโน้ตในบันไดเสียงไดอาโทนิก ==
* โน้ตตัวที่ 1 เรียกว่า โทนิก (Tonic)
* โน้ตตัวที่ 2 เรียกว่า ซุปเปอร์โทนิก (Supertonic)
บรรทัด 70:
 
== ตัวโน้ตที่ใช้เขียน ==
:''ดูบทความหลักที่ [[ค่าของโน้ต]]''
ตัวโน้ตหนึ่งตัวที่ใช้สำหรับบันทึกบทเพลงจะมี[[ค่าของโน้ต]]หนึ่งค่า นั่นคือ[[ระยะเวลา]]ในการออกเสียงของตัวโน้ต เช่น ตัวดำ ตัวเขบ็ตหนึ่งชั้น เป็นต้น เมื่อตัวโน้ตต่างๆ ถูกเขียนลงบน[[บรรทัดห้าเส้น]] ตัวโน้ตแต่ละตัวจะถูกวางไว้บนตำแหน่งที่แน่นอนตามแนวตั้ง (คาบเส้นบรรทัดหรือระหว่างช่องบรรทัด) และกำหนดระดับเสียงที่แน่นอนด้วย[[กุญแจประจำหลัก]] เส้นแต่ละเส้นและช่องว่างแต่ละช่องถูกตั้งชื่อตามเสียงของโน้ต ซึ่งชื่อเหล่านี้เป็นที่จดจำโดย[[นักดนตรี]] ทำให้นักดนตรีทราบได้ว่าจุดใดควรจะเล่นเครื่องดนตรีด้วยระดับเสียงใด ตามตำแหน่งหัวของโน้ตบนบรรทัด ตัวอย่างเช่น
 
เส้น 114 ⟶ 113:
ทำให้โน้ต A4 จับคู่อยู่กับโน้ตหมายเลข 69 ในระบบ MIDI และทำให้เติมเต็มช่วงความถี่อื่นๆ ที่ไม่ตรงกับความถี่สากลมาเป็นหมายเลขของโน้ตได้อีกด้วย
 
<!-- ยังไม่มีบทความ ซ่อนไว้ก่อน
== ดูเพิ่ม ==
* [[ค่าของโน้ต]] (note value) -->
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
บรรทัด 122:
{{สัญกรณ์ดนตรี}}
 
[[หมวดหมู่:สัญกรณ์ดนตรี|นโน้ตดนตรี]]
[[หมวดหมู่:เสียง|นโน้ตดนตรี]]
{{โครงดนตรี}}