ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แท็บเล็ตคอมพิวเตอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Kodjaman (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Kodjaman (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
[[ไฟล์:IFA 2010 Internationale Funkausstellung Berlin 03.JPG|thumb|200px|แท็บเล็ตคอมพิวเตอร์]]
 
'''แท็บเล็ตคอมพิวเตอร์''' ({{lang-en|tablet computer}}) เรียกสั้น ๆ ว่า '''แท็บเล็ต''' เป็นคอมพิวเตอร์ที่รวมการทำงานทุกอย่างไว้ใน[[จอสัมผัส]]โดยใช้[[ปากกาสไตลัส]] [[ปากกาดิจิตอล]] หรือปลาย[[นิ้วมือ|นิ้ว]] เป็น[[อินพุต|อุปกรณ์อินพุต]]พื้นฐาน แทนการใช้[[คีย์บอร์ด (คอมพิวเตอร์)|คีย์บอร์ด]]และ[[เมาส์]] แต่มีอยู่หรือไม่มีก็ได้<ref>{{Cite news|title=Definition of: tablet computer|url=http://www.pcmag.com/encyclopedia_term/0,2542,t=tablet+computer&i=52520,00.asp |author= นักเขียนของ PC Magazine |accessdate=April 17, 2010|work=PC Magazine}}</ref><ref>{{Cite web |title=tablet computer - 1 dictionary result|url=http://dictionary.reference.com/browse/tablet+computer |author= ผู้เรียบเรียงของ Dictionary.com |accessdate=April 17, 2010|work=Dictionary.com}}</ref>มีอุปกรณ์ไร้สายสำหรับการเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตและระบบเครือข่ายภายใน<ref>แท็บเล็ต (Tablet) คือ อะไร. (2553). สืบค้นข้อมูลจาก http://www.tabletd.com/articles/289 เข้าถึงเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2556</ref>
 
== แท็บเล็ตในปัจจุบัน ==
บรรทัด 21:
==การนำ Tablet PC ไปใช้ในการศึกษาของไทย==
การนำแท็บเล็ตพีซีมาใช้ในการจัดการศึกษาของประเทศไทยเป็นความพยายามที่จะพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โดยใช้ประโยชน์จากความเป็นคนในยุคดิจิตอลของผู้เรียนในการเรียนรู้ผ่านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์พกพา หรือที่เราเรียกทับศัพท์ว่า “แท็บเล็ตพีซี” การศึกษาในยุคศตวรรษที่ 21 จะให้ความสำคัญกับการบวนการเรียนรู้มากกว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผู้สอนเปลี่ยนบทบาทจากผู้ถ่ายทอดความรู้โดยตรงเป็นผู้ให้คำปรึกษา อำนวยความสะดวก ออกแบบการเรียนการสอนให้ผู้เรียนฝึกการค้นคว้าหาความรู้ได้ด้วยตนเอง เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ตลอดชีวิต แท็บเล็ตพีซีเป็นเครื่องมือหนึ่งที่ผู้เรียนสามารถเข้าถึงข้อมูลที่ต้องการได้ง่าย รวดเร็ว<ref>“แท็บเล็ต” (Teblet) เพื่อการศึกษา. (ออนไลน์). (2556). สืบค้นข้อมูลจาก http://chompoonikkampan.blogspot.com/ เข้าถึงเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2556</ref>และมีคุณลักษณะที่เหมาะสมที่ช่วยในการจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
แท็บเล็ตพีซีเป็นได้ทั้งสื่อและเครื่องมือมือหรับใช้ในการเรียนการสอน หากนำไปใช้เป็นเครื่องมือ จะอยู่ในรูปแบบ mWBI<ref>ภาสกร เรืองรอง. (2556). การพัฒนาบทเรียนบท Tablet PC. โรงพิมพ์พรทิชา กรุงเทพ.</ref> คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้บน แท็บเล็ตพีซีผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยมีผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เนื้อหาวิชาจะถูกโหลดจากอินเทอร์เน็ตในรูปแบบ html5 ผู้เรียนจะทำกิจกรรมสื่อการเรียนรู้และสร้างปฏิสัมพันธ์บนเครือข่าย แต่ในบริบทประเทศไทยแล้ว แท็บเล็ตพีซีจะเป็นสื่อสำหรับใช้ในการเรียนการสอนแบบ mCAI<ref>ภาสกร เรืองรอง. (2556). การพัฒนาบทเรียนบท Tablet PC. โรงพิมพ์พรทิชา กรุงเทพ.</ref> ซึ่งเนื้อหาวิชาถูกบรรจุไว้ในรูปแบบ mobile application และนำไปติดตั้งลงบนแท็บเล็ตพีซี ผู้เรียนสามารถศึกษาเนื้อหาได้เลยโดยไม่ต้องรอการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต การจัดการเรียนรู้จะเน้นการเรียนรู้แบบเอกัตภาพศึกษา (Individual Learning) โดยผู้เรียนจะเรียนรู้ตามความสนใจและความพร้อมของตนเอง
จะเห็นได้ว่าสื่อการสอนแบบ mCAI นั้น เป็นบทเรียนสำเร็จรูปที่สะดวกต่อการใช้งานทั้งผู้สอนและผู้เรียนทั้งในสังคมเมืองและสังคมชนบทที่ห่างไกล อันเป็นการสร้างความเสมอภาคทางการศึกษาได้ อย่างดียิ่ง แต่ถ้าหากรัฐบาลสนับสนุนการจัดระบบโครงสร้างพื้นฐานให้กับสถานศึกษา ให้สามารถเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตความเร็วสูงได้ ปรับลักษณะของอุปกรณ์แท็บเล็ตให้เหมาะสมกับการสืบค้นข้อมูล ก็ยิ่งจะช่วยทำให้ผู้เรียนบรรลุวัตถุประสงค์การเรียนรู้ในยุคดิจิตอล
==การเตรียมความพร้อมของประเทศไทย==
บรรทัด 47:
จิราพร กตารัตน์<ref>จิราพร กตารัตน์ (2555). วิทยานิพนธ์ ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. สืบค้นข้อมูลจาก http://dcms.thailis.or.th/dcms/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=313367&query=Array&s_mode=Array&date_field=date_create&date_start=2552&date_end=2556&limit_lang=&limited_lang_code=tha&order=&order_by=title&order_type=ASC&result_id=7&maxid=13 เข้าถึงเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2556</ref> ศึกษาการใช้แท็บเล็ตเพื่อการเรียนการสอนของข้าราชการผู้สอนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 1 พบว่า ในภาพรวมการใช้แท็บเล็ตเพื่อการเรียนการสอนของข้าราชการผู้สอนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 1 จัดอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการใช้แท็บเล็ตเพื่อ การบริหารจัดการเรียนรู้
ณัฐพร ทองศรี<ref>ณัฐพร ทองศรี. (2555). ความตั้งใจใช้แท็บเล็ตของครูผู้สอนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 3 การประยุกต์ใช้ตัวแบบการยอมรับเทคโนโลยี. วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วิทยาการคอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ). สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร์. สืบค้นข้อมูลจาก เข้าถึงเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2556</ref> ทำการศึกษาความตั้งใจใช้แท็บเล็ตของผู้สอนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 3 การประยุกต์ใช้ตัวแบบการยอมรับเทคโนโลยี ผลการศึกษาพบว่าผู้สอนมีความตั้งใจใช้แท็บเล็ตในการเรียนการสอนในปีการศึกษา 2555 อยู่ในระดับปานกลาง ปัจจัยภายนอกที่มีอิทธิพลต่อระดับความตั้งใจใช้แท็บเล็ตมากที่สุดคือ อิทธิพลทางสังคม
นำชัย โบราณมูล<ref>นำชัย โบราณมูล (2555). วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิตคอมพิวเตอร์ศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. สืบค้นข้อมูลจาก http://dcms.thailis.or.th/tdc/dccheck.php?Int_code=34&RecId=3655&obj_id=35206 เข้าถึงเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2556</ref> ได้พัฒนาหลักสูตรอบรมการใช้คอมพิวเตอร์แท็บเล็ตเพื่อการเรียนรู้ เรื่อง การสร้างสเปรดชีทด้วยแอพพลิเคชั่น Numbers สำหรับผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่า หลักสูตรอบรมที่พัฒนาขึ้น มีคุณภาพในระดับเหมาะสมมาก ผู้เข้าอบรมมีความรู้ความเข้าใจหลักสูตรอบรมโดยมีคะแนนหลังอบรมสูงและก่อนอบรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 และผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อหลักสูตรอบรมฯ อยู่ในระดับมากที่สุด
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 1<ref>สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 1. (ออนไลน์). (2556). ความสำเร็จของการใช้ Tablet เพื่อยกระดับการเรียนการสอน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปี 2555. สืบค้นข้อมูลจาก http://otpc-cm1.blogspot.com/2013/07/tablet-1-2555.html เข้าถึงเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2556.</ref> ศึกษาความสำเร็จของการใช้ Tablet เพื่อยกระดับการเรียนการสอน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปี 2555 ผลการศึกษาพบว่า ผู้สอนร้อยละ 75.5 มีความคิดเห็นว่าผู้เรียนเรียนภาษาอังกฤษได้ดีขึ้นและเร็วขึ้น ผู้เรียนร้อยละ 62.7 มีความสามารถเขียนสื่อความและจับใจความในระดับใช้ได้ ผู้เรียนร้อยละ 61.7 เขียนภาษาอังกฤษในระดับใช้ได้ ผู้เรียนร้อยละ 52.1 พออ่านภาษาอังกฤษได้แต่ยังต้องพัฒนา ผู้เรียนร้อยละ 96.7 รู้สึกว่าแท็บเล็ตมีประโยชน์ ผู้เรียนร้อยละ 81.3 เห็นว่าแท็บเล็ตใช้ง่าย ผู้เรียนร้อยละ 97.6 ชอบแท็บเล็ต
ผู้สอนร้อยละ 92.5 ชอบใช้แท็บเล็ตในการสอน ผู้สอนร้อยละ 94.9 รู้สึกว่าแท็บเล็ตมีประโยชน์หลายอย่าง ผู้สอนร้อยละ 94.8 เห็นว่าแท็บเล็ตสนับสนุนและกระตุ้นการเรียนรู้ของผู้เรียน