ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 13:
}}
 
'''คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี''' [[มหาวิทยาลัยมหิดล]]''' เป็น[[รายชื่อคณะและวิทยาลัยแพทยศาสตร์ในประเทศไทย|คณะแพทยศาสตร์]]แห่งที่ 4 ของประเทศ และเป็นคณะแพทยศาสตร์แห่งที่ 2 ที่สังกัดมหาวิทยาลัยมหิดล ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี [[พ.ศ. 2508]] โดยได้รับการสนับสนุนจาก [[มูลนิธิร็อกกี้เฟลเลอร์]] ทั้งในด้านทุนทรัพย์และบุคลากร และยังมีผู้เชี่ยวชาญไทยที่ผ่านการฝึกอบรมจากร[[ประเทศสหรัฐอเมริกา]] และ[[สหราชอาณาจักร]]อีกจำนวนหนึ่งด้วย
 
ปัจจุบัน คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี รับ[[นักศึกษา]]เข้าศึกษาในระดับ[[ปริญญาตรี]] (เป็น[[นักศึกษาแพทย์]]ประมาณ 180 คน และนักศึกษาพยาบาลอีก 150 คนต่อปี) ระดับหลังปริญญาในสาขา[[วิทยาศาสตร์สุขภาพ]]และสาขาที่เกี่ยวข้องมีโครงการ[[ปริญญาเอก]] โครงการฝึกอบรมแพทย์ผู้เชี่ยวชาญในสาขาต่าง ๆ และสาขาย่อยเฉพาะทาง รวมทั้งการวิจัยด้วย
 
เป้าหมายของคณะฯ คือการผลิตบุคลากรทางการแพทย์สาขาต่างต่างๆพยาบาล ๆ [[พยาบาล]]และบุคลากรอื่นทาง[[การทางการแพทย์]]ที่มีคุณภาพ เน้นให้นักศึกษาได้เรียนรู้การดูแลรักษาแบบองค์รวม การใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมและสามารถทำงานใน[[ชุมชน]]ได้
 
 
== ประวัติ ==
[[ไฟล์:ตราสัญลักษณ์ 40 ปี รามาธิบดี.jpg|left|thumbright|150200px|ตรา 40ปี รามาธิบดี]]
* '''[[พ.ศ. 2507]]''' รัฐบาลได้วางนโยบายหลักในแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติระยะที่ 2 ให้ผลิต[[แพทย์]]และ[[พยาบาล]]เพิ่มขึ้น โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะปรับอัตราส่วน ระหว่างแพทย์ กับจำนวนประชากร ให้อยู่ในระดับใกล้เคียง กับอัตราส่วน ของประเทศอื่น จึงได้อนุมัติให้จัดตั้ง คณะแพทยศาสตร์แห่งใหม่ ในมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ (มหาวิทยาลัยมหิดล ในปัจจุบัน) โดยใช้ที่ดินบริเวณหน้ากรมทางหลวง และได้อนุมัติให้จัดตั้ง[[โรงพยาบาลรามาธิบดี]] ขึ้นพร้อมกัน
 
บรรทัด 27:
 
* '''[[พ.ศ. 2552]]''' ครบรอบ 40ปี รามาธิบดี โดยคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีได้จัดงาน"การประชุมวิชาการ 4 ทศวรรษ รามาธิบดี : จากนวัตกรรมสู่เวชปฏิบัติ"ที่อิมแพ็ค อารีนา โดยมี[[สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา]]เสด็จมาเปิดงาน
 
[[ไฟล์:SDMC.JPG|right|thumb|150px|อาคารสมเด็จพระเทพรัตน์]]
* '''[[พ.ศ. 2552]]''' [[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]]เสด็จพระราชดำเนินเปิดศูนย์หลอดเลือดหัวใจและ เมตบอลิซึม ณ อาคารศูนย์การแพทย์สิริกิติ์ และทรงเปิดอาคารศูนย์อุบัติเหตุและเวชศาสตร์ฉุกเฉินสมบูรณ์แบบ
 
บรรทัด 36:
{| class="toccolours" width = 100%
|-
! style="background: Mediumaquamarinedarkgreen; "| รายนามคณบดี
! style="background: Mediumaquamarinedarkgreen; "| วาระการดำรงตำแหน่ง
|-
| valign = "top" |1. ศาสตราจารย์ นายแพทย์ อารี วัลยะเสวี
บรรทัด 68:
=== ภาควิชา ===
 
* ภาควิชา[[วิสัญญีวิทยา]]
* ภาควิชา[[เวชศาสตร์ครอบครัว]]
* ภาควิชา[[อายุรศาสตร์]]
* ภาควิชา[[สูติศาสตร์]] - [[นรีเวชวิทยา]]
* ภาควิชา[[จักษุวิทยา]]
[[ไฟล์:โรงพยาบาลรามาธิบดี.JPG|right|thumb|200300px|คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล]]
* ภาควิชา[[โสต ศอ นาสิกวิทยา]]
* ภาควิชา[[ออร์โธปิดิกส์|ออร์โธปิดิคส์]]
* ภาควิชา[[พยาธิวิทยา]]
* ภาควิชา[[กุมารเวชศาสตร์]]
* ภาควิชา[[จิตเวชศาสตร์]]
* ภาควิชา[[รังสีวิทยา]]
* ภาควิชา[[เวชศาสตร์ฟื้นฟู]]
* ภาควิชา[[ศัลยศาสตร์]]
* ภาควิชา[[เวชศาสตร์ฉุกเฉิน]]
* ภาควิชา[[เวชศาสตร์ชุมชน]]
* ภาควิชา[[วิทยาศาสตร์การสื่อความหมายและความผิดปกติของการสื่อความหมาย]]
* [[โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี]]
 
=== หน่วยงานและศูนย์ต่างๆ ===
* งานบริการวิชาการ
* สำนักงานศูนย์[[เวชศาสตร์ชุมชน]]
* [http://MedEd.mahidol.ac.th หน่วยงานแพทยศาสตรศึกษา]
* ศูนย์หัวใจ หลอดเลือด และเมแทบอลิซึม หรือ Cardiovascular and Metabolism center ( CVMC )
บรรทัด 103:
 
== การศึกษา ==
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2508 เป็นคณะแพทยศาสตร์ลำดับที่ 4 ของประเทศไทย มี ศาสตราจารย์นายแพทย์ อารี วัลยะเสวี เป็นคณบดีท่านแรก โดยมีจุดมุ่งหมายในการสร้างรากฐานความรู้ทางการแพทย์และการพยาบาล (Knowledge - based medicine and care) เพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการและวิจัย ลักษณะพิเศษของรามาธิบดี คือมีการผลิต[[บัณฑิต]]ทั้งสาขา[[แพทยศาสตร์]] และพยาบาลศาสตร์ในคณะเดียวกัน ทำให้สามารถประสานการเรียนการสอน การบริการควบคู่กัน ส่งเสริมการทำงานเป็นทีม อันยังประโยชน์ต่อการจัดการเรียนการสอนและการบริการให้เป็นไปอย่างสอดคล้องและมีประสิทธิภาพ
 
รามาธิบดี เป็นคณะแพทยศาสตร์แห่งแรกในประเทศไทย ที่นักศึกษาแพทย์ต้องเรียนวิชาด้าน[[วิทยาศาสตร์]]พื้นฐาน และ[[วิทยาศาสตร์การแพทย์พื้นฐาน]] (ปรีคลินิก) ที่[[คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล]] ทำให้นักศึกษามีแนวคิดด้านวิทยาศาสตร์พื้นฐานและ[[การวิจัย]] ซึ่งเป็นประโยชน์ในการพัฒนาศักยภาพสู่การเป็น[[นักวิจัย]]และการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
 
 
รามาธิบดี เป็นคณะแพทยศาสตร์แห่งแรกในประเทศไทย ที่นักศึกษาแพทย์ต้องเรียนวิชาด้าน[[วิทยาศาสตร์]]พื้นฐาน และ[[วิทยาศาสตร์การแพทย์พื้นฐาน]] (ปรีคลินิก) ที่[[คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล]] ทำให้นักศึกษามีแนวคิดด้านวิทยาศาสตร์พื้นฐานและ[[การวิจัย]] ซึ่งเป็นประโยชน์ในการพัฒนาศักยภาพสู่การเป็น[[นักวิจัย]] และการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
 
ปัจจุบัน รามาธิบดีผลิตนักศึกษาหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต พยาบาลศาสตรบัณฑิต พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาพยาบาลศาสตร์หลักสูตรนานาชาติ วิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาความผิดปกติของการสื่อความหมาย บัณฑิตศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ฝึกอบรมแพทย์เฉพาะทางและแพทย์เฉพาะอนุสาขาต่างๆ รวมหลักสูตรระดับปริญญาตรี บัณฑิตศึกษา ที่มีหน่วยกิตจำนวน 16 หลักสูตร หลักสูตรอื่นๆ อีก 92 หลักสูตร
 
โรงพยาบาลรามาธิบดีนั้นได้รับการยอมรับจากนานาชาติในเรื่องเทคโนโลยีและวิชาการในสาขา[[กุมารเวชศาสตร์]],[[จักษุวิทยา]],ระบบต่อมไร้ท่อ และ[[ออร์โธปิดิคส์]]เป็นพิเศษออร์โธปิดิคส์เป็นพิเศษ นอกจากนี้โรงพยาบาลรามาธิบดียังมีเครื่องมือที่ทันสมัยระดับโลกแห่งเดียวในประเทศไทยเช่น มีดไซเบอร์(Cyberknife) และ เครื่องสแกน320สไลซ์
 
== หลักสูตร ==
ภารกิจหลักที่สำคัญประการหนึ่งของคณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี คือ การผลิต[[บัณฑิต]]แพทย์ พยาบาล และบุคลากรสาขาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องด้าน[[วิทยาศาสตร์การแพทย์]] ซึ่งมีหลักสูตรในระดับ[[ปริญญาตรี]] [[ปริญญาโท|โท]] และ[[ปริญญาเอก|เอก]] ดังนี้
 
{| class="toccolours" width = 100%
เส้น 139 ⟶ 137:
** สาขาฟิสิกส์การแพทย์
** สาขาวิชาความผิดปกติของการสื่อความหมาย
** สาขาโภชนศาสตร์ โครงการร่วมระหว่าง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี และ สถาบันโภชนาการ
| valign = "top" |
'''หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต'''
เส้น 146 ⟶ 144:
** สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก (หลักสูตรร่วม)
** สาขาพยาธิวิทยาคลินิก
** สาขาโภชนศาสตร์ (โครงการร่วมระหว่าง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี และ สถาบันโภชนาการ)
** สาขาวิชาการพยาบาล (หลักสูตรนานาชาติ ร่วมกับมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ)
* '''หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิตและแพทยศาสตรบัณฑิต'''
เส้น 163 ⟶ 161:
=== รายละเอียดของโครงการ ===
 
[[ไฟล์:bangplee.jpg|leftright|thumb|150200px|สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์]]
1. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี ถนนพระราม 6 รองรับการให้บริการทางการแพทย์ การศึกษาและการวิจัย มาเป็นเวลากว่า 40 ปี โดยที่คณะแพทยศาสตร์ฯ มีศักยภาพสูงที่จะพัฒนาตามพันธกิจต่าง ๆ แต่มีข้อจำกัดหลายประการ เช่น มีจำนวนผู้ป่วยนอกเพิ่มขึ้นมากแต่สถานที่คับแคบ ทรัพยากรการเรียนรู้ในด้านสถานที่เรียน สถานที่ปฏิบัติการทางคลินิก หอพักนักศึกษา และพื้นที่ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ไม่เพียงพอ รวมทั้งจำเป็นต้องพิจารณาหาโรงพยาบาลฝึกอบรมที่มีลักษณะผู้ป่วยในระดับปฐม ภูมิและทุติยภูมิสำหรับการเรียนการสอน
 
เส้น 178 ⟶ 177:
 
4. ระยะเวลาดำเนินโครงการรวมทั้งสิ้น 5 ปี (พ.ศ. 2554 — 2558)
 
[[ไฟล์:bangplee.jpg|left|thumb|150px|สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์]]
 
=== นามพระราชทาน ===
เส้น 197 ⟶ 194:
|-
|-
| valign = "top" | [[สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์]]
| valign = "top" | [[สมุทรปราการ]]
| valign = "top" | คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี [[มหาวิทยาลัยมหิดล]]