ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กวาง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 29:
 
== การจำแนก ==
'''วงศ์ Cervidae''' จัดระเบียบดังต่อไปนี้<ref>[http://www.itis.gov/servlet/SingleRpt/SingleRpt?search_topic=TSN&search_value=180693 จาก itis.gov {{en}}]</ref>
* วงศ์ย่อย '''[[Muntiacinae]]''' คือพวก เก้ง
** สกุล ''[[Muntiacus]]''
*** ''Muntiacus muntjak'' ([[เก้งธรรมดา]])
บรรทัด 58:
**** ''Cervus schomburgki'' (สมัน; [[การสูญพันธุ์|สูญพันธุ์]]ตั้งแต่ปี [[ค.ศ. 1938]])
**** ''Cervus eldii'' ([[ละองละมั่ง]])
***** ละองละมั่งที่พบในประเทศไทยเป็น[[สปีชีส์ย่อย|ชนิดย่อย]] ละองละมั่งพันพันธุ์ไทย (''Cervus eldii thamin'') และ ละองละมั่งพันธุ์พม่า ''Cervus eldii siamensis''
*** สกุลย่อย ''Rusa''
**** ''Cervus unicolor'' ([[กวางป่า]] หรือ กวางม้า)
บรรทัด 81:
** สกุล ''[[Hydropotes]]''
*** ''Hydropotes inermis'' ([[Hydropotes inermis|กวางน้ำจีน]])
* วงศ์ย่อย '''[[Odocoileinae]]'''/ '''[[Capreolinae]]'''
** สกุล ''[[Odocoileus]]''
*** ''Odocoileus virginianus'' ([[Odocoileus virginianus|กวางหางขาว]])
บรรทัด 111:
*** ''Alces alces'' ([[Alces alces|กวางมูส]]; เป็นกวางใหญ่ที่สุดในโลก)
[[ภาพ:Sambar 2 (3867178921).jpg|thumb|left|กวางป่าตัวเมีย ซึ่งไม่มีเขา]]
 
== การปรับตัวต่อถิ่นอาศัย ==
จากการศึกษาวิวัฒนาการของสัตว์วงศ์กวางและ[[กระจง]] ซึ่งเป็นสัตว์เคี้ยวเอื้องที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน พบว่ามีหลายชนิดที่มีลักษณะการปรับตัวทาง[[Convergent evolution|วิวัฒนาการเป็นแบบเข้าหากัน]] คือ กวางและกระจงที่มีถิ่นอาศัยต่างถิ่นกัน อาจมีรูปร่างภายนอกที่คล้ายคลึงกันได้ หากสภาพแวดล้อมทางนิเวศวิทยาของถิ่นอาศัยนั้นมีสภาพใกล้เคียงกัน <ref>[http://books.google.co.th/books/about/Biology_and_management_of_the_Cervidae.html?id=D7IWAAAAYAAJ&redir_esc=y Biology and management of the Cervidae]. a conference held at the Conservation and Research Center, National Zoological Park, Smithsonian Institution, Front Royal, Virginia, August 1-5, 1982</ref> ซึ่งภายใต้สภาพการเลี้ยงในสวนสัตว์ในแต่ละที่ แต่ละกลุ่มประชากรในถิ่นอาศัยที่มีสภาพทางนิเวศวิทยาที่แตกต่างกันนั้น อาจจะเป็นคนละชนิด ซึ่งมีลักษณะแตกต่างกันก็ได้ <ref>[http://app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00592/C00592-2.pdf การศึกษาลําดับนิวคลีโอไทดสัตววงศกวางเพื่อประโยชนในการจําแนกสัตวปาของกลาง]. โดย กณิตา อุยถาวร. สืบค้น 26 ตุลาคม 2556</ref>
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/กวาง"