ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กวางป่า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Taxobox
| name = กวางป่า
| image =Sambhar Deer by N A Nazeer.jpg
| image_width = 250px
| image_caption = กวางป่าตัวผู้
| regnum = [[Animal]]ia
| phylum = [[Chordata]]
เส้น 12 ⟶ 13:
| species = '''''R. unicolor'''''
|binomial = ''Rusa unicolor''
|binomial_authority = ([[Kerr|Kerr]], 1792)
|synonyms = *''Cervus unicolor''
|range_map = Rusa unicolor.png
|range_map_caption = แผนที่แสดงการกระจายพันธุ์
}}
'''กวางป่า''' หรือ '''กวางม้า''' หรือ '''กวางแซมบาร์''' ({{lang-en|Sambar deer}}: {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Cervus unicolor}}) เป็น[[กวาง]]ขวาดใหญ่ชนิดหนึ่ง พบกระจายพันธุ์ในประเทศศรีลังกา, อินเดีย, พม่า, ไทย, จีน, ไต้หวัน, อินโดนีเซีย, มาเลเซีย, สุมาตรา, บอร์เนียว และหมู่เกาะซีลีเบส
เส้น 35 ⟶ 38:
* ''R. u. swinhoii'' หรือ กวางป่าฟอร์โมซา: พบใน[[เกาะไต้หวัน]]
* ''R. u. unicolor'' หรือ กวางป่าศรีลังกา: พบในประเทศอินเดีย, บังกลาเทศ และศรีลังกา
[[ภาพ:Sambar deers.jpg|thumb|left|กวางป่าเพศเมีย]]
 
[[ภาพ:4. antlers unicolor.png|thumb|left|ลักษณะเขาของกวางป่า]]
== ความสัมพันธ์เชิงวิวัฒนาการของกวางป่าและญาติ ==
จากการวิเคราะห์ทางพันธุศาสตร์แสดงญาติที่ใกล้ชิดที่สุดของกวางป่า อาจเป็น[[กวางรูซ่า]] (''R. timorensis'') ที่กระจายพันธุ์ในประเทศอินโดนีเซีย<ref>[http://jhered.oxfordjournals.org/content/84/4/266.full.pdf Genetic Analysis of Evolutionary Relationships Among Deer (Subfamily Cervinae)]. สืบค้น 26 ตุลาคม 2556</ref> ซึ่งมีรายงานสนับสนุนที่ว่ากวางป่าสามารถผสมพันธุ์กับกวางรูซ่าและให้กำเนิดลูกผสมที่สามารถสืบพันธุ์ได้ และมีการค้นพบซากดึกดำบรรพ์ของกวางป่าจากสมัยสมัยไพลสโตซีนตอนต้น แม้ว่าจะมีการค้นพบกวางดึกดำบรรพ์ที่คล้ายกว่าป่าจากสมัยไพลโอซีน แต่กวางชนิดนี้กลับคล้ายกวางในปัจจุบันน้อยมาก กวางป่าได้รับการเสนอว่าอาจเกิดขึ้นครั้งแรกในเอเชียใต้ ภายหลังจึงกระจายพันธุ์ไปยังถิ่นอาศัยในปัจจุบัน Epirusa และEucladoceros ได้รับการเสนอว่าทั้งสองอาจเป็นบรรพบุรุษของกวางป่ารวมทั้งเป็นญาติใกล้ชิด <ref name="mam">http://www.mammalogy.org/uploads/Leslie%202011%20-%20MS%2043(871),%201-30_0.pdf</ref> จากการขุดค้นสำรวจของดร.เชตเตอร์ เกอร์แมน นักโบราณคดีแห่งมหาวิทยาลัยฮาวาย ได้สำรวจบริเวณถ้ำผี อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้พบหลักฐานของมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์อายุราว 1,200 ปี ซึ่งจัดเป็นพวกเดียวกับวัฒนธรรมหันบินห์หรือฮัอบินเหียนในเวียดนาม พบกระดูกของกวางป่า, แมวป่า, กระรอก, ปู, ปลา, หอย พบเมล็ดพืชหลายชนิด เช่นหมาก<ref>[http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/malaiwan_c/historym1/unit02_02.html]. ประว้ัติศาสตร์ไทยในอดีตจนถึงสุโขทัย. สืบค้น 26 ตุลาคม 2556</ref>
 
นอกจากนี้แล้ว ลูกผสมระหว่างกวา่งป่าและกวางรูซ่า ยังให้ผลผลิตที่ดี เป็นสัตว์เศรษฐกิจ<ref name="dld"/>