ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กวางป่า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
CommonsDelinker (คุย | ส่วนร่วม)
ลบภาพ "Famrandeer.jpg", ซึ่งถูกลบที่คอมมอนส์โดย INeverCry เพราะ Per commons:Commons:Deletion requests/File:Famrandeer.jpg
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
== <big>กวางป่า (Sambar Deer)</big> ==
{{ปรับรูปแบบ}}
{{Taxobox
| name = กวางป่า
เส้น 11 ⟶ 9:
| familia = [[Cervidae]]
| subfamilia = [[Cervinae]]
| genus = ''''' [[Rusa''']]''
| species = '''''R. unicolor'''''
|binomial = ''Rusa unicolor''
 
|binomial_authority = ([Kerr|Kerr]], 1792)
|synonyms = *''Cervus unicolor''
}}
'''กวางป่า''' ชื่อสามัญหรือ '''กวางม้า''' หรือ '''กวางแซมบาร์''' ({{lang-en|Sambar Deer deer}}: {{ชื่อวิทยาศาสตร์ ''|Cervus unicolor''}}) Kerr เป็น[[กวางเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]]ขวาดใหญ่ชนิดหนึ่ง จำพวกกีบคู่ มีถิ่นกำเนิดและพบกระจายพันธุ์ในประเทศศรีลังกา, อินเดีย, พม่า, ไทย, จีน, ไต้หวัน, อินโดนีเซีย, มาเลเซีย, สุมาตรา, บอร์เนียว และหมู่เกาะซีลีเบส ชนิดที่พบในประเทศไทยมีชื่อทางวิทยาศาสตร์คือ Cervus unicolor equinus <ref>http://web3.dnp.go.th/wildlifenew/downloads/Deer%20Antiers.pdf </ref>
==ลักษณะ==
กวางป่านับเป็นสัตว์จำพวกกวางที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และที่พบได้ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีความยาวลำตัวและหัว 180-200 เซนติเมตร ความยาวหาง 25-28 เซนติเมตร และหนักได้ถึง 185-220 กิโลกรัม โดยทั่วไปกวางเพศผู้จะมีขนาดใหญ่กว่าเพศเมีย มีขนสั้นหยาบสีน้ำตาลแกมเหลือง บางตัวน้ำตาลแกมแดง พบตามป่าดงดิบทุกภาค ทั้งในป่าระดับต่ำ ป่าสูง ชอบหากินตามทุ่งโล่ง ชายป่า ในตอนเช้าตรู่และพลบค่ำ กลางวันจะหลับนอนตามพุ่มไม้ใกล้ชายป่า จะกินพืช ทั้งใบ ยอด และต้องการดินโป่ง ในธรรมชาติชอบอยู่ตัวเดียวหรืออยู่เป็นกลุ่มเล็กๆ พร้อมลูกของมัน ฤดูผสมพันธุ์ส่วนใหญ่เป็นฤดูหนาว<ref>[http://web3.dnp.go.th/wildlifenew/downloads/Deer%20Antiers.pdf เขากวาง]. เขากวาง. สืบค้น 26 ตุลาคม 2556 </ref>
 
===== ลักษณะนิสัยและพฤติกรรมต่างๆต่าง ๆ =====
=== บทนำ ===
 
===== ชีววิทยา =====
กวางป่า ชื่อสามัญ Sambar Deer ชื่อวิทยาศาสตร์ ''Cervus unicolor'' Kerr กวางเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม จำพวกกีบคู่ มีถิ่นกำเนิดและกระจายพันธุ์ในประเทศศรีลังกา อินเดีย พม่า ไทย จีน ไต้หวัน อินโดนีเซีย มาเลเซีย สุมาตรา บอร์เนียว และหมู่เกาะซีลีเบส ชนิดที่พบในประเทศไทยมีชื่อทางวิทยาศาสตร์คือ Cervus unicolor equinus <ref>http://web3.dnp.go.th/wildlifenew/downloads/Deer%20Antiers.pdf </ref>
กวางป่าเป็นสัตว์จำพวกกวางที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย และในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ความยาวลำตัวและหัว 180-200 เซนติเมตร ความยาวหาง 25-28 เซนติเมตร และหนักได้ถึง 185-220 กิโลกรัม โดยทั่วไปกวางเพศผู้จะมีขนาดใหญ่กว่าเพศเมีย มีขนสั้นหยาบสีน้ำตาลแกมเหลือง บางตัวน้ำตาลแกมแดง พบตามป่าดงดิบทุกภาค ทั้งในป่าระดับต่ำ ป่าสูง ชอบหากินตามทุ่งโล่ง ชายป่า ในตอนเช้าตรู่และพลบค่ำ กลางวันจะหลับนอนตามพุ่มไม้ใกล้ชายป่า จะกินพืช ทั้งใบ ยอด และต้องการดินโป่ง ในธรรมชาติชอบอยู่ตัวเดียวหรืออยู่เป็นกลุ่มเล็กๆ พร้อมลูกของมัน ฤดูผสมพันธุ์ส่วนใหญ่เป็นฤดูหนาว
 
===== ลักษณะนิสัยและพฤติกรรมต่างๆ =====
ลักษณะที่บ่งบอกถึงสุขภาพกวางที่สมบูรณ์ สังเกตได้จากขนตามลำตัวมันเงา ดวงตาแจ่มใส จมูกชื้น มูลเป็นเม็ด ไม่มีกลิ่น ปัสสาวะใส ไม่แยกตัวออกจากฝูง ร่างกายไม่ผอมผิดปกติ ส่วนการระวังภัยของกวาง เมื่อได้ยินหรือเห็นสิ่งผิดปกติ จะชูคอหันหน้า ใบหูทั้ง 2 ข้างหันไปยังทิศทางที่ได้ยินหรือเห็น หางจะชี้ขึ้น ยืนนิ่งเงียบ จากนั้นจะส่งเสียงร้องแหลมดังขึ้น ถ้าอยู่กันหลายตัวจะไปยืนรวมกัน เมื่อมีตัวใดตัวหนึ่งตื่นและวิ่ง จะทำให้กวางตัวอื่นทั้งหมดวิ่งตามได้ การโกรธ ทำร้าย และการต่อสู้ กวางจะกัดฟันเสียงดังกรอด ๆ ร่องใต้ตาทั้งสองข้างเบิกลึกกว้างพร้อมกับเดินส่ายหัวเข้าหาศัตรูอย่างช้า ๆ แล้วก้มหัวลงเพื่อให้ปลายเขาชี้เข้าหาศัตรู
 
=== ชนิดย่อย ===
===== ความสำคัญ =====
กวางมีบทสำคัญต่อการตำรงชีวิตของมนุษย์มานานแล้ว ตั้งแต่ยุคที่มีการล่าสัตว์เพื่อนำมาทำเป็นอาหาร เอาหนังมาทำเครื่องนุ่งห่ม ต่อมาได้มีการนำกวางมาเป็นสัตว์เลี้ยงเพื่อบริโภคเนื้อ เป็นเกมกีฬาของคนชั้นสูงและมีการพัฒนาขึ้นมาจนเกิดเป็นอุตสาหกรรมการเลี้ยงกวางหรือฟาร์มกวาง <ref>http://www.rattanafarm.com/DATAREDDEER.html</ref> กวาง สัญลักษณ์แห่งดาวโชคลาภ กวาง ในภาษาจีนจะเรียกว่า “ลู่” เป็นสัตว์สิริมงคลของจีน ซึ่งหมายถึงเทพดาวลก (ผู้เป็น 1 ใน 3 เทพดาว “ฮก ลก ซิ่ว”') ดังนั้นกวางจึงมีความหมายในเชิงสัญลักษณ์ เป็นตัวแทนหมายถึง เทพแห่งดาวโชคลาภและชื่อเสียง<ref> http://variety.horoworld.com/3924_%E0%B8%81%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%87-%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%93%E0%B9%8C%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B9%82%E0%B8%8A%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%A0</ref> กวางถูกจัดอยู่ในสัตว์ป่าคุ้มครอง สถานภาพทางกฎหมายตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พุทธศักราช ๒๕๓๕ ที่อนุญาตให้เพาะพันธุ์ได้ <ref>http://www.dnp.go.th/fca16/file/ur96mjodujspar1.pdf</ref>
=== ชนิดย่อย ===
กวางป่าชนิดย่อยที่พบในประเทศอินเดียและศรีลังกาเป็นกลางป่าที่มีขนาดเขาใหญ่ที่สุดทั้งขนาดและเมื่อเทียบกับสัดส่วนลำตัว กวางป่าจีนใต้ในตอนใต้ของจีนและแผ่นดินใหญ่ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีขนาดเขารองลงมาจากกวางป่าอินเดีย โดยมีขนาดเขาเล็กกว่ากวางป่าอินเดียเล็กน้อย กวางป่าสุมาตราที่อาศัยในคาบสมุทรมาเลและเกาะสุมาตรา และกวางป่าบอร์เนียวมีเขาขนาดเล็กที่สุดเมื่อเทียบกับสัดส่วนลำตัว กวางป่าฟอร์โมซามีขนาดเล็กที่สุด ด้วยขนาดสัดส่วนลำตัว ซึ่งคล้ายคลึงกับกวางป่าจีนใต้
 
ปัจจุบัน มีกวางป่า 7 ชนิดซึ่งเป็นที่ยอมรับ<refname=Leslie2011/><ref name=msw3>Wilson, D.E., Reeder, D.M. (eds.) (2005) Mammal Species
of the World. A Taxonomic and Geographic Reference (3rd ed), Johns Hopkins University Press [http://www.bucknell.edu/msw3/browse.asp?id=14000004 online]</ref> แม้ว่าจะมีชนิดย่อยอื่นจำนวนมากที่ได้รับการเสนอ
* ''R. u. brookei'': พบในเกาะบอร์เนียว
* ''R. u. cambojensis'': พบในอินโดจีน และคาบสมุทรมาเลเซีย
* ''R. u. dejeani'' หรือ กวางป่าจีนใต้: พบในภาคใต้และภาคตะวันตกเฉียงใต้ของประเทศจีน
* ''R. u. equina'' หรือ กวางป่ามาเลมลายู: พบในเกาะสุมาตราและประเทศไทย
* ''R. u. hainana'' หรือ กวางป่าไหหลำ: พบใน[[มณฑลไหหลำ]] ประเทศจีน
* ''R. u. swinhoii'' หรือ กวางป่าฟอร์โมซา: พบใน[[เกาะไต้หวัน]]
* ''R. u. unicolor'' หรือ กวางป่าศรีลังกา: พบในประเทศอินเดีย, บังกลาเทศ และศรีลังกา
 
 
=== ความสัมพันธ์เชิงวิวัฒนาการของกวางป่าและญาติ ===
จากการวิเคราะห์ทางพันธุศาสตร์แสดงญาติที่ใกล้ชิดที่สุดของกวางป่า อาจเป็นกวางรูซาในประเทศอินโดนีเซีย<ref>http://jhered.oxfordjournals.org/content/84/4/266.full.pdf</ref> ซึ่งมีรายงานสนับสนุนที่ว่ากวางป่าสามารถผสมพันธุ์กับกวางรูซาและให้กำเนิดลูกผสมที่สามารถสืบพันธุ์ได้ และมีการค้นพบซากดึกดำบรรพ์ของกวางป่าจากสมัยสมัยไพลสโตซีนตอนต้น แม้ว่าจะมีการค้นพบกวางดึกดำบรรพ์ที่คล้ายกว่าป่าจากสมัยไพลโอซีน แต่กวางชนิดนี้กลับคล้ายกวางในปัจจุบันน้อยมาก กวางป่าได้รับการเสนอว่าอาจเกิดขึ้นครั้งแรกในเอเชียใต้ ภายหลังจึงกระจายพันธุ์ไปยังถิ่นอาศัยในปัจจุบัน Epirusa และEucladoceros ได้รับการเสนอว่าทั้งสองอาจเป็นบรรพบุรุษของกวางป่ารวมทั้งเป็นญาติใกล้ชิด <ref>http://www.mammalogy.org/uploads/Leslie%202011%20-%20MS%2043(871),%201-30_0.pdf</ref> จากการขุดค้นสำรวจของดร.เชตเตอร์ เกอร์แมน (Chester Gorman) นักโบราณคดีแห่งมหาวิทยาลัยฮาวาย ได้สำรวจบริเวณถ้ำผี อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้พบหลักฐานของคนยุคก่อนประวัติศาสตร์อายุราว 1,200 ปี ซึ่งจัดเป็นพวกเดียวกับวัฒนธรรมหันบินห์หรือฮัอบินเหียนในเวียดนาม พบกระดูกของกวางป่า แมวป่า กระรอก ปู ปลา หอย พบเมล็ดพืชหลายชนิด เช่น หมาก<ref>http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/malaiwan_c/historym1/unit02_02.html</ref>
 
=== การปรับตัวความสัมพันธ์เชิงวิวัฒนาการของกวางป่าและญาติ (Evolutionary adaptation of the Sambar Deer) ===
จากการวิเคราะห์ทางพันธุศาสตร์แสดงญาติที่ใกล้ชิดที่สุดของกวางป่า อาจเป็น[[กวางรูซาซ่า]] (''R. timorensis'') ที่กระจายพันธุ์ในประเทศอินโดนีเซีย<ref>[http://jhered.oxfordjournals.org/content/84/4/266.full.pdf Genetic Analysis of Evolutionary Relationships Among Deer (Subfamily Cervinae)]. สืบค้น 26 ตุลาคม 2556</ref> ซึ่งมีรายงานสนับสนุนที่ว่ากวางป่าสามารถผสมพันธุ์กับกวางรูซาซ่าและให้กำเนิดลูกผสมที่สามารถสืบพันธุ์ได้ และมีการค้นพบซากดึกดำบรรพ์ของกวางป่าจากสมัยสมัยไพลสโตซีนตอนต้น แม้ว่าจะมีการค้นพบกวางดึกดำบรรพ์ที่คล้ายกว่าป่าจากสมัยไพลโอซีน แต่กวางชนิดนี้กลับคล้ายกวางในปัจจุบันน้อยมาก กวางป่าได้รับการเสนอว่าอาจเกิดขึ้นครั้งแรกในเอเชียใต้ ภายหลังจึงกระจายพันธุ์ไปยังถิ่นอาศัยในปัจจุบัน Epirusa และEucladoceros ได้รับการเสนอว่าทั้งสองอาจเป็นบรรพบุรุษของกวางป่ารวมทั้งเป็นญาติใกล้ชิด <ref name="mam">http://www.mammalogy.org/uploads/Leslie%202011%20-%20MS%2043(871),%201-30_0.pdf</ref> จากการขุดค้นสำรวจของดร.เชตเตอร์ เกอร์แมน (Chester Gorman) นักโบราณคดีแห่งมหาวิทยาลัยฮาวาย ได้สำรวจบริเวณถ้ำผี อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ได้พบหลักฐานของคนมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์อายุราว 1,200 ปี ซึ่งจัดเป็นพวกเดียวกับวัฒนธรรมหันบินห์หรือฮัอบินเหียนในเวียดนาม พบกระดูกของกวางป่า, แมวป่า, กระรอก, ปู, ปลา, หอย พบเมล็ดพืชหลายชนิด เช่น หมาก<ref>[http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/bangkok/malaiwan_c/historym1/unit02_02.html]. ประว้ัติศาสตร์ไทยในอดีตจนถึงสุโขทัย. สืบค้น 26 ตุลาคม 2556</ref>
 
นอกจากนี้แล้ว ลูกผสมระหว่างกวา่งป่าและกวางรูซ่า ยังให้ผลผลิตที่ดี เป็นสัตว์เศรษฐกิจ<ref name="dld"/>
===== การปรับตัวของสีขน =====
จะมีการเปลี่ยนแปลงสีขนให้กลมกลืนไปกับธรรมชาติรอบ ๆ ตัว ในลูกกวางจะพบว่ามีลายจุดบนตัว หย่อมขนสีบริเวณสองข้างของตะโพก เมื่อเวลาตกใจหรือพบเห็นภัยอันตราย หย่อมขนสีนี้จะเข้มขึ้นและเป็นประกายอย่างเห็นได้ชัดเจน สามารถมองเห็นได้ในระยะไกล เป็นสัญญาณเตือนภัยให้แก่กวางตัวอื่น ๆ ภายในฝูง <ref>http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A7%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%81%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%99%E0%B8%A1</ref>
 
=== ความสัมพันธ์การปรับตัวเชิงวิวัฒนาการของกวางป่าและญาติ ===
===== เขากวาง =====
===== การปรับตัวของสีขน =====
กวางตัวผู้จะสามารถผลัดเปลี่ยนเขาได้ทุกปี คือเมื่อใกล้ถึงฤดูผสมพันธุ์จะมีการสร้างเขา ซึ่งคือโครงสร้างของมวลคล้ายกระดูกอ่อนที่ยังมีเลือดไปหล่อเลี้ยงอยู่ตลอดเวลาได้ มีหนังที่เต็มไปด้วยขนสั้นละเอียดและหนาแน่นคล้ายผ้ากำมะหยี่หุ้ม<ref>http://www.thaifeed.net/animal/deer/deer-4.html</ref>
จะมีการเปลี่ยนแปลงสีขนให้กลมกลืนไปกับธรรมชาติรอบ ๆ ตัว ในลูกกวางจะพบว่ามีลายจุดบนตัว หย่อมขนสีบริเวณสองข้างของตะโพก เมื่อเวลาตกใจหรือพบเห็นภัยอันตราย หย่อมขนสีนี้จะเข้มขึ้นและเป็นประกายอย่างเห็นได้ชัดเจน สามารถมองเห็นได้ในระยะไกล เป็นสัญญาณเตือนภัยให้แก่กวางตัวอื่น ๆ ภายในฝูง <ref>http: name="mam"//th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A7%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%81%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%99%E0%B8%A1</ref>
การที่กวางมีเขางอกออกมาจากบริเวณศีรษะ เพื่อใช้สำหรับต่อสู้หรือดึงดูดเพศเมียในฤดูผสมพันธุ์
 
===== ต่อมกลิ่นเขากวาง =====
กวางป่าตัวผู้จะสามารถผลัดเปลี่ยนเขาได้ทุกปี คือเมื่อใกล้ถึงฤดูผสมพันธุ์จะมีการสร้างเขา ซึ่งคือโครงสร้างของมวลคล้ายกระดูกอ่อนที่ยังมีเลือดไปหล่อเลี้ยงอยู่ตลอดเวลาได้ มีหนังที่เต็มไปด้วยขนสั้นละเอียดและหนาแน่นคล้ายผ้ากำมะหยี่หุ้ม การที่กวางป่ามีเขางอกออกมาจากบริเวณหัว เพื่อใช้สำหรับต่อสู้หรือดึงดูดเพศเมียในฤดูผสมพันธุ์ <ref>http: name="dld"//www.thaifeed.net/animal/deer/deer-4.html</ref>
ต่อมกลิ่มโดยเฉพาะกวางเพศผู้ จะมีแอ่งน้ำตาขนาดใหญ่ เรียกว่าต่อมใต้กระบอกตา ( Facial gland ) ทำหน้าที่คัดหลั่งสารที่มีกลิ่นฉุนมากให้ไหลออกตามร่องน้ำตาที่มุมตาด้านใน โดยกวางจะเอาหน้าไปเช็ดถูตามต้นไม้เพื่อเป็นการสื่อสารและบ่งบอกถึงอาณาเขตที่อยู่ของตน จะขยายใหญ่ช่วงฤดูผสมพันธุ์
<ref>http://www.dld.go.th/service/deer/deer_h.html</ref> <ref>http://www.dnp.go.th/fca16/file/ur96mjodujspar1.pdf</ref>
 
=== ต่อมกลิ่น ===
===== การปรับตัวต่อถิ่นอาศัย =====
ต่อมกลิ่มโดยเฉพาะกวางเพศผู้ จะมีแอ่งน้ำตาขนาดใหญ่ เรียกว่าต่อมใต้กระบอกตา ( Facial gland ) ทำหน้าที่คัดหลั่งสารที่มีกลิ่นฉุนมากให้ไหลออกตามร่องน้ำตาที่มุมตาด้านใน โดยกวางจะเอาหน้าไปเช็ดถูตามต้นไม้เพื่อเป็นการสื่อสารและบ่งบอกถึงอาณาเขตที่อยู่ของตน จะขยายใหญ่ช่วงฤดูผสมพันธุ์
จากการศึกษาวิวัฒนาการของสัตว์วงศ์กวางและกระจง พบว่ามีหลายชนิดที่มีลักษณะการปรับตัวทางวิวัฒนาการเป็นแบบ Convergence คือกวางและกระจงที่มีถิ่นอาศัยต่างถิ่นกัน อาจมีรูปร่างภายนอกที่คล้ายคลึงกันได้ หากสภาพแวดล้อมทางนิเวศวิทยาของถิ่นอาศัยนั้นมีสภาพใกล้เคียงกัน (adaptive radiation) <ref>http://books.google.co.th/books/about/Biology_and_management_of_the_Cervidae.html?id=D7IWAAAAYAAJ&redir_esc=y</ref> ซึ่งภายใต้สภาพการเลี้ยงในสวนสัตว์ในแต่ละที่ แต่ละกลุ่มประชากรในถิ่นอาศัยที่มีสภาพทางนิเวศวิทยาที่แตกต่างกัน (different ecomorphs) นั้น อาจจะเป็นคนละชนิดพันธุ์ ซึ่งมีลักษณะแตกต่างกันก็ได้ <ref>http://app.dnp.go.th/opac/multimedia/research/C00592/C00592-2.pdf</ref>
<ref name="dld">[http://www.dld.go.th/service/deer/deer_h.html กวาง]. การเลี้ยงกวาง. จากกรมปศุสัตว์. สืบค้น 26 ตุลาคม 2556</ref>
 
== Referencesอ้างอิง ==
<references />
{{commonscat|Rusa unicolor|''Rusa unicolor''}}
==แหล่งข้อมูลอื่น==
{{wikispecies-inline|Rusa unicolor}}
[[category:กวาง]]
[[category:สัตว์ป่าคุ้มครอง]]