ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สายการบินราคาประหยัด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pipachpong1 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pich (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 3:
==รูปแบบการให้บริการของโลว์คอสต์ ==
มีสองแบบเช่น
*Premium Low-Cost : สายการบินต้นทุนต่ำ ที่ยังคงให้สิทธิ์แก่ผู้โดยสารในการโหลดสัมภาระลงใต้ท้องเครื่องบินได้ฟรี อย่างน้อย 15 กิโลกรัม, เลือกที่นั่งฟรี และยังมีของว่างและน้ำดื่มในปริมาณที่จำกัด ให้บริการบนเที่ยวบิน โดยสายการบินที่ให้บริการลักษณะนี้คือ ของไทยเช่น [[นกแอร์|นกแอร์(Nok Air),]]ของมาเลเซียไทย, มาลินโดแอร์(Malindo Air)ของมาเลเซีย
 
*Ultra Low-Cost : สายการบินต้นทุนต่ำ ที่ยึดคอนเซปต์ "โลกนี้ไม่มีอะไรฟรี อยากได้อะไรก็ต้องซื้อเพิ่ม" ถ้าไม่ซืออะไรเพิ่ม ก็ได้แค่การเดินทางที่ปลอดภัยจนถึงจุดหมายปลายทางเท่านั้น ถ้ามีสัมภาระใหญ่เกินกำหนดก็ต้องเสียค่าระวางโหลดสัมภาระ, อยากนั่งตรงไหนพิเศษก็ต้องจ่ายเพิ่ม, อยากทานอาหารบนเครื่องก็ต้องซื้อเพิ่ม, ตัดบริการทุกสิ่งอย่างออก เหลือแค่การให้บริการการเดินทางด้วยความปลอดภัยและตรงต่อเวลามากที่สุดเท่านั้น แน่นอน ซึ่งสายการบินแบบนี้ ตั๋วจะมีราคาถูกกว่าแบบ Premium Low-Cost สายการบินที่คงคอนเซปต์นี้เป็นอย่างดีก็คือ [[แอร์เอเชีย]], ไทเกอร์แอร์เวย์ส, เจ๊ตสตาร์, สกู๊ต, เซบูแปซิฟิค ฯลฯ เป็นต้น
 
== รายชื่อบริษัทสายการบินราคาประหยัดของประเทศไทย ==