ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮกุ พ.ศ. 2554"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
fixed ref
ป้ายระบุ: ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น
Rotlink (คุย | ส่วนร่วม)
fixing dead links
บรรทัด 47:
การสั่นไหวที่รุนแรงถูกจัดให้อยู่ในระดับ 7 ซึ่งเป็นระดับสูงสุดของ[[มาตรความรุนแรงแผ่นดินไหวของสำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น]]ในคุริฮาระ [[จังหวัดมิยะงิ]]<ref name="jma">{{cite web|url=http://www.jma.go.jp/en/quake/20110311150154391-111446.html |title=Japan Meteorological Agency &#124; Earthquake Information |publisher=Jma.go.jp |date= |accessdate=2011-03-11}}</ref> ส่วนในจังหวัดอื่นอีกสามจังหวัด ได้แก่ [[จังหวัดฟุกุชิมะ]] [[จังหวัดอิบะระกิ]] และ[[จังหวัดโทะชิงิ]] ถูกบันทึกไว้ว่าอยู่ในระดับ 6 บนตามมาตราดังกล่าว ส่วนสถานีแผ่นดินไหวใน[[จังหวัดอิวะเตะ]] [[จังหวัดกุมมะ]] [[จังหวัดไซตะมะ]] และ[[จังหวัดชิบะ]] วัดความรุนแรงได้ในระดับ 6 ล่าง และ 5 บนในโตเกียว
 
สำนักงานข้อมูลปริภูมิ (Geospatial Information Authority) ญี่ปุ่น รายงานการทรุดตัวของแผ่นดิน ที่วัดค่าโดย[[จีพีเอส]]จากค่าล่าสุดเมื่อวันที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2554<ref>{{cite web|url=http://www.gsi.go.jp/sokuchikijun/sokuchikijun40003.html|title=平成23年 (2011年) 東北地方太平洋沖地震に伴う地盤沈下調査|date=14 April 2011|publisher=[[Geospatial Information Authority of Japan]]|language=Japanese|trans_title=Land [[subsidence]]caused by 2011 Tōhoku earthquake and tsunami|accessdate=15 April 2011| archiveurl = http://www.webcitation.org/5y2aXoLUW | archivedate=18 April 2011| deadurl=no}}</ref> ที่ลดลงมากที่สุดคือ คาบสมุทรโอชิกะ จังหวัดมิยะงิ 1.2 เมตร<ref name=yumi20110415-p33>Valuie announce from [[Geospatial Information Authority of Japan]], news report by [[Yomiuri Shimbun]] 2011-04-15 ver. 13S page 33</ref> ด้านนักวิทยาศาสตร์ว่า การทรุดตัวดังกล่าวเป็นการถาวร และจะส่งผลให้ชุมชนที่ประสบการทรุดตัวของแผ่นดินนี้จะเสี่ยงต่อภาวะอุทกภัยในช่วงน้ำขึ้นมากยิ่งขึ้น<ref>Alabaster, Jay, "[http://www.webcitation.org/query?url=http://news.yahoo.com/s/ap/20110509/ap_on_re_as/as_japan_earthquake_changing_terrain&date=2011-05-09+16:09:07 Quake shifted Japan; towns now flood at high tide]", ''[[Yahoo! News]]'', 9 May 2011.</ref>
 
=== พลังงาน ===
บรรทัด 151:
=== ไฟฟ้า ===
[[ไฟล์:Devastation in Minamisōma after tsunami.jpg|thumb|left|ความเสียหายที่เกิดขึ้นกับสายส่งกระแสไฟฟ้า]]
ตามข้อมูลของโทโฮะกุอิเล็กทริกพาวเวอร์ (TEP) มีบ้านเรือนราว 4.4 ล้านหลังคาเรือนทางตะวันออกเฉียงเหนือของญี่ปุ่นไม่มีกระแสไฟฟ้าใช้<ref>{{cite web|url= http://au.news.yahoo.com/world/a/-/world/8997743/people-near-japan-nuke-plant-told-to-leave/ |title=People near Japan nuke plant told to leave| publisher = Yahoo! | work = News | location = AU|archiveurl=http://web.archive.org/web/20110901042334/au.news.yahoo.com/world/a/-/world/8997743/people-near-japan-nuke-plant-told-to-leave/|archivedate=2011-09-01}}</ref> เครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์และเครื่องปฏิกรณ์ไฟฟ้าทั่วไปหลายเครื่องไม่สามารถใช้การได้หลังจากเกิดแผ่นดินไหว ซึ่งลดกำลังการผลิตกระแสไฟฟ้าของบริษัทผลิตไฟฟ้าโตเกียว (TEPCO) ลง 21 จิกะวัตต์<ref>{{cite web|url= http://e.nikkei.com/e/fr/tnks/Nni20110313D13JFF08.htm | date =14 March 2011, 04:34| title = Power Outage To Deal Further Blows To Industrial Output |publisher= Nikkei.com |accessdate=2011-03-14}}</ref> มาตรการตัดกระแสไฟฟ้า (rolling blackout) เริ่มขึ้นเมื่อวันที่ 14 มีนาคม จากการขาดแคลนพลังงานซึ่งเป็นผลมาจากแผ่นดินไหว TEPCO ซึ่งปกติแล้ว ผลิตไฟฟ้าอย่างน้อย 40 จิกะวัตต์ ประกาศว่าขณะนี้ทางบริษัทสามารถผลิตกระแสไฟฟ้าได้เพียงราว 30 จิกะวัตต์ ที่เป็นเช่นนี้เพราะไฟฟ้าร้อยละ 40 ที่ใช้ในพื้นที่เขตมหานครโตเกียวปัจจุบันได้รับไฟฟ้าที่ผลิตจากเครื่องปฏิกรณ์ใน[[จังหวัดนิอิงะตะ]]และฟุกุชิมะ<ref>{{cite web|url=http://www.tepco.co.jp/index-j.html|title= 東京電力ホームページ – エネルギーの最適サービスを通じてゆたかで快適な環境の実現に貢献します -|publisher=Tokyo Electric Power Company|accessdate=2011-03-13 | language = Japanese}}</ref> เครื่องปฏิกรณ์ที่[[โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟุกุชิมะไดอิชิ]]และฟุกุชิมะไดนิถูกปิดตัวลงอัตโนมัติหลังเกิดเหตุแผ่นดินไหวขึ้นครั้งแรก และได้รับความเสียหายอย่างหนักจากเหตุแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิที่เกิดขึ้นตามมา คาดว่าจะมีมาตรการตัดกระแสไฟฟ้านานสามชั่วโมงถึงสิ้นเดือนเมษายนและจะส่งผลกระทบถึงจังหวัดโตเกียว คะนะงะวะ ชิซุโอกะ ยามานาชิ ชิบา อิราบากิ ไซตามะ โตชิงิ และกุนมะ<ref>{{cite web|url=http://www.nikkansports.com/general/news/f-gn-tp0-20110313-748042.html | title= News | publisher= Nikkan Sports |date= |accessdate=2011-03-13}}</ref> การเต็มใจลดการใช้กระแสไฟฟ้าโดยผู้บริโภคในเขตคันโตช่วยลดความถี่และระยะที่เกิดไฟฟ้าดับจากที่เคยทำนายไว้<ref>Joe, Melinda, "[http://search.japantimes.co.jp/cgi-bin/fs20110317a3.html Kanto area works on energy conservation]", ''[[Japan Times]]'', 17 March 2011, p. 11.</ref> การลดการใช้ไฟฟ้าโดยสมัครใจของผู้บริโภคในพื้นที่คันโตช่วยลดความถี่และระยะเวลาของการตัดกระแสไฟฟ้าที่คาดการณ์ไว้<ref>Joe, Melinda, "[http://search.japantimes.co.jp/cgi-bin/fs20110317a3.html Kanto area works on energy conservation]", ''Japan Times'', 17 March 2011, p. 11. {{WebCite|url=http://www.webcitation.org/5y2awhmjE|date=18 April 2011}}</ref> จนถึงวันที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2554 จำนวนครัวเรือนทางตอนเหนือของญี่ปุ่นที่ไม่มีกระแสไฟฟ้าใช้ลดลงเหลือ 242,927 ครัวเรือน<ref name="Reuters figures">{{cite news|last=Nomiyama|first=Chiz|url=http://www.reuters.com/article/2011/03/21/us-japan-quake-numbers-idUSTRE72K0YJ20110321|title=Factbox: Japan disaster in figures|date=21 March 2011|work=Reuters|accessdate=21 March 2011|archiveurl=http://www.webcitation.org/5xLOSexvL|archivedate=21 March 2011}}</ref>
 
TEP ปัจจุบันไม่สามารถผลิตกระแสไฟฟ้าเพิ่มเติมให้กับเขตคันโตได้ เพราะเครื่องปฏิกรณ์ของ TEP เองก็ได้รับความเสียหายจากเหตุแผ่นดินไหวด้วยเช่นกัน คันไซอิเล็กทริกพาวเวอร์คอมปานี (Kepco) ไม่สามารถแบ่งกระแสไฟฟ้าให้ได้ เพราะระบบของบริษัททำงานอยู่ที่ 60 เฮิร์ตซ์ ขณะที่ของ TEPCO และ TEP ทำงานที่ 50 เฮิร์ตซ์ ซึ่งเป็นผลมาจากการพัฒนาทางอุตสาหกรรมและสาธารณูปโภคในยุคเริ่มแรกในคริสต์ทศวรรษ 1880 ซึ่งทำให้ญี่ปุ่นไม่มีสายส่งไฟฟ้าทั่วประเทศที่เป็นเอกภาพ<ref>http://www.itworld.com/business/140626/legacy-1800s-leaves-tokyo-facing-blackouts</ref> สถานีย่อยสองแห่ง ในชิซุโอกะและนางาโนะ สามารถแปลงความถี่และส่งกระแสไฟฟ้าจากคันไซไปยังคันโตและโทโฮะกุ แต่มีกำลังสูงสุดจำกัดอยู่ที่ 1 จิกะวัตต์ และจากความเสียหายที่เกิดขึ้นกับเครื่องปฏิกรณ์หลายเครื่องนั้น อาจต้องใช้เวลาหลายปีจึงจะฟื้นฟูระดับการผลิตกระแสไฟฟ้าทางตะวันออกของญี่ปุ่นให้กลับคืนสู่ระดับก่อนเกิดแผ่นดินไหว<ref>Hongo, Jun, "[http://search.japantimes.co.jp/cgi-bin/nn20110316a6.html One certainty in the crisis: Power will be at a premium]", ''[[Japan Times]]'', 16 March 2011, p. 2.</ref>