ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แถบไคเปอร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Addbot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 78 interwiki links, now provided by Wikidata on d:q427 (translate me)
ป้ายระบุ: ลบลิงก์ข้ามภาษา
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ไฟล์:Kuiper_oort.jpg|thumb|250px|ภาพกราฟิกแสดงแถบไคเปอร์ และเมฆออร์ต]]
[[ไฟล์:New Horizons Liftoff.jpg|thumb|250px|การปล่อยยานนิวฮอไรซันส์ เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2006]]
[[ไฟล์:New Horizons 1.jpg|thumb|250px|ยานนิวฮอไรซันส์ ที่ใช้ในการสำรวจแถบไคเปอร์ และดาวพลูโต]]
 
'''แถบไคเปอร์''' ({{lang-en|Kuiper Belt}}) หมายถึง บริเวณที่อยู่เลย[[วงโคจร]]ของ[[ดาวเนปจูน]]ออกไป ที่ด้านนอกระบบสุริยะรอบนอก มีบริเวณกว้าง 3,500 ล้านไมล์ มีก้อนวัตถุแข็ง เป็นน้ำแข็งขนาดเล็กจำนวนมาก[[โคจร]]รอบ[[ดวงอาทิตย์]] ลักษณะคล้ายกับ[[แถบดาวเคราะห์น้อย]] ที่อยู่ระหว่างวงโคจรของ[[ดาวอังคาร]]กับ[[ดาวพฤหัสบดี]] วัตถุที่อยู่ในแถบไคเปอร์ มีชื่อเรียกว่า [[วัตถุในแถบไคเปอร์]] (Kuiper Belt Object - KBO) หรืออีกชื่อหนึ่งว่า [[วัตถุพ้นดาวเนปจูน]] (Trans-Neptunian Object - TNO) ซึ่งมีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นน้ำแข็ง เชื่อกันว่าก้อนน้ำแข็งเหล่านี้ เป็นแหล่งกำเนิดของ[[ดาวหางคาบสั้น]] โดยชื่อแถบไคเปอร์นี้ ได้ตั้งเพื่อเป็นเกียรติแก่ [[เจอราร์ด ไคเปอร์]] ผู้ค้นพบ
 
เดิมทีวัตถุที่มีขนาดใหญ่ที่สุดที่ถูกค้นพบในแถบไคเปอร์ คือ [[ดาวพลูโต]] ซึ่งถูกค้นพบเมื่อ [[พ.ศ. 2473]] ส่วนก้อนน้ำแข็งอื่น ๆ นั้นมีแสงริบหรี่และมองหายาก จึงถูกค้นพบในเวลาต่อมา ดวงแรกที่ค้นพบ คือ '''1992 QB1''' เมื่อ [[พ.ศ. 2535]] และใน [[พ.ศ. 2548]] นักดาราศาสตร์ได้ค้นพบวัตถุในบริเวณนี้ดวงหนึ่งซึ่งมีชื่อเรียกว่า '''2003UB313''' โดยมีขนาดใกล้เคียงกับพลูโต และนำไปสู่การถกเถียงในหมู่นักดาราศาสตร์ว่าควรจะเรียกวัตถุใหม่ที่มีขนาดใกล้เคียงกับพลูโตว่าดาวเคราะห์หรือไม่ สหพันธ์ดาราศาสตร์สากลจึงลงมติปลดพลูโตจากการเป็นดาวเคราะห์มาเป็น'''ดาวเคราะห์แคระ''' และวัตถุที่มาของความขัดแย้งนี้ก็ได้ชื่อเป็นทางการว่า '''เอริส (Eris) ''' ต่อมาในต้น [[พ.ศ. 2550]] นักดาราศาสตร์ก็ยืนยันขนาดของเอริสว่ามีขนาดใหญ่กว่าพลูโตเล็กน้อย โดยมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 2400 กิโลเมตร
 
[[ไฟล์:New Horizons Liftoff.jpg|thumb|การปล่อยยานนิวฮอไรซันส์ เมื่อวันที่ 19 มกราคม 2006]]
 
นักดาราศาสตร์จะได้ศึกษาวัตถุในแถบไคเปอร์อย่างละเอียด ใน [[พ.ศ. 2558]] เมื่อยาน[[นิวฮอไรซันส์]] ของ[[นาซา]] ซึ่งถูกปล่อยเมื่อวันที่ [[19 มกราคม]] [[พ.ศ. 2549]] เดินทางไปถึงวงโคจรของดาวพลูโต ในเดือน[[กรกฎาคม]] พ.ศ. 2558
 
[[ไฟล์:New Horizons 1.jpg|thumb|ยานนิวฮอไรซันส์ ที่ใช้ในการสำรวจแถบไคเปอร์ และดาวพลูโต]]
 
{{ระบบสุริยะ}}
 
[[หมวดหมู่:ระบบสุริยะ|ถแบไคเปอร์]]
[[หมวดหมู่:วัตถุพ้นดาวเนปจูน|ถแบไคเปอร์]]
[[หมวดหมู่:ดาวเคราะห์แคระ|ดาวเคราะห์แคระ]]
{{โครงดาราศาสตร์}}
 
{{Link FA|ar}}