ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นกพิราบ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Sasakubo (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดทันใจด้วยสจห.
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 27:
ซึ่งนกพิราบป่านั้นเป็นที่รวมของเชื้อโรคชนิดต่าง ๆ ที่ติดต่อมาสู่มนุษย์ได้ อาทิ [[สมองอักเสบ|โรคสมองอักเสบ]]จาก[[เชื้อรา]], [[ปอดอักเสบ]], [[ท้องเสีย]], [[ความเครียด (ชีววิทยา)|เครียด]] หรือแม้กระทั่ง[[หมัด (สัตว์)|หมัด]]จากตัวนก<ref>[http://www.dld.go.th/dcontrol/th/index.php/component/content/article/69-2010-06-16-02-17-58/1560-pigeon.html ภัยเงียบจากนกพิราบ]</ref>
 
นกพิราบมีถิ่นอาศัยในสิ่งแวดล้อมเปิดและกึ่งเปิดในพื้นที่เกษตรกรรมและในเมือง หน้าผาและขอบหินถูกใช้เป็นที่ทำรังวางไข่ของนกในป่า นกพิราบมีถิ่นกำเนิดในยุโรป แอฟริกาเหนือ และทางตะวันตกของเอเชีย ก่อนที่จะแพร่กระจายไปตามเมืองต่าง ๆ ทั่วโลก เพราะเป็นนกที่มีการปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมโดยเฉพาะในเมืองได้ดีมาก คาดว่ามีประชากรนกในธรรมชาติประมาณ 17 - 28 ล้านตัวใน[[ยุโรป]]<ref name = "BI">{{IUCN2006|assessors=BirdLife International|year=2004|id=48701|title=Columba livia|downloaded=8 May 2006}}
</ref> ปัจจุบันนกพิราบเป็นนกที่พบได้ในทุกทวีปทั่วโลก ยกเว้นทวีปแอนตาร์กติกา<ref>''เอเชียและออสเตรเลีย'', "มองโลกอัศจรรย์ผ่านนภากาศ". สารคดีทางไทยพีบีเอส: ศุกร์ที่ 7 กันยายน 2555</ref>
</ref>
 
นกพิราบ เป็นนกที่มนุษย์คุ้นเคยเป็นอย่างดี ในสมัยโบราณจะใช้ใน[[การสื่อสาร]] เนื่องจากเป็นนกที่มีประสาทสัมผัสเป็นอย่างดีในการที่จะหาทางกลับมาสู่ถิ่นฐานที่จากมา แม้ว่าจะอยู่ไกลแค่ไหนก็ตามด้วยการใช้[[สนามแม่เหล็กโลก]]แบบเดียวกับ[[เต่าทะเล]] อีกทั้งยังใช้[[แสงแดด]]และจมูกในการดมกลิ่นอีกด้วย<ref name="นกสื่อสาร">[http://teen.teenee.com/howcome/614.html นกพิราบสื่อสารหาทางกลับบ้านได้อย่างไร]</ref>
บรรทัด 48:
* Shapiro, Beth; Sibthorpe, Dean; Rambaut, Andrew; Austin, Jeremy; Wragg, Graham M.; Bininda-Emonds, Olaf R. P.; Lee, Patricia L. M. & Cooper, Alan (2002) : Flight of the Dodo. ''[[Science (journal)|Science]]'' '''295''': 1683. <small>{{DOI|10.1126/science.295.5560.1683}}</small> (HTML abstract) [http://www.sciencemag.org/cgi/content/full/295/5560/1683/DC1 Supplementary information]
{{จบอ้างอิง}}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Pigeons|นกพิราบ}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==