ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โอซากะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Natty sci (คุย | ส่วนร่วม)
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
imperial court = ราชสำนัก ไม่ใช่ ศาลหลวง
บรรทัด 12:
| imagesize =
| image_alt =
| image_caption = [[อุเมะดะสกาย]]<br>[[Dōtonbori|โดทงโบะริ]] และ [[Tsūtenkaku|สึเทนกะกุสึเท็นกะกุ]]<br/>[[Shitennō-ji|ชิเทนโนจิเท็นโนจิ]], [[Sumiyoshi taisha|ซุมิโยะชิไทชะ]] และ [[ปราสาทโอซะกะ]] ในตอนกลางคืน
| image_flag = Flag of Osaka City.svg
| flag_alt = Miotsukushi
บรรทัด 126:
}}
 
'''โอซะกะ''' ({{ญี่ปุ่น|大阪|Ōsaka}}) เป็นนครในภาค[[คันไซ]]ของ[[เกาะฮนชู]] ตั้งอยู่ใน[[จังหวัดโอซะกะ]] จัดเป็นนครในเขตเศรษฐกิจที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 2 และเป็นนครที่ใหญ่ที่สุดอันดับ 3 ของ[[ประเทศญี่ปุ่น]] และเป็นส่วนที่ใหญ่ที่สุดของสามนครใหญ่[[เคฮันชิง]] ซึ่งรัฐบาลญี่ปุ่นนั้นได้จัดตั้งให้เป็นหนึ่งในหลายเมืองของประเทศที่มี[[เมืองที่กำหนดอันตั้งขึ้นโดยคำสั่งของรัฐบาลญี่ปุ่นข้อบังคับ|เขตการปกครองรูปแบบพิเศษ]]
 
เมืองโอซะกะมีประชากรทั้งหมดประมาณ 2.7 ล้านคน แต่ในช่วงเวลาทำงานจะเพิ่มขึ้นเป็น 3.7 ล้านคน ซึ่งเป็นรองเพียงแต่โตเกียวเท่านั้น อัตราส่วนประชากรกลางวันต่อกลางคืนเท่ากับ 141 เปอร์เซ็นต์ นครตั้งอยู่ที่ปาก[[แม่น้ำโยะโดะ]] [[อ่าวโอซะกะ]] และ[[ทะเลเซะโตะ]]
 
โอซะกะเป็นเป็นเมืองสำคัญทาง[[ประวัติศาสตร์]] ทั้งการค้าและวัฒนธรรมเมืองหนึ่งของ[[ประเทศญี่ปุ่น]] โดยมีชื่อเล่นเรียกกันสมญาว่า ''[[เทงกะโนะไดโตะโกะโระ]]ครัวของชาติ'' ({{nhg2|天下の台所|Tenka no Daidokoro}}) หรือ ''[[ห้องครัวแห่งอาหารอันโอชะ]]'' เพราะเป็นศูนย์กลางการค้าข้าวของญี่ปุ่นตั้งแต่สมัย[[ยุคเอะโดะ|เอะโดะ]] และปัจจุบันเป็น[[ศูนย์กลาง]][[อุตสาหกรรม]]เมืองหนึ่งใน[[ประเทศญี่ปุ่น]]
 
== ประวัติศาสตร์ ==
 
=== ยุคก่อนประวัติศาสตร์ถึงยุคโคะฟุง ===
 
เส้น 139 ⟶ 138:
ในสมัย[[ยุคยะโยะอิ|ยะโยะอิ]] มีการค้นพบการตั้งถิ่นฐานถาวรเป็นครั้งแรก ในบริเวณที่ราบของโอซะกะ โดยยึดการปลูกข้าวเป็นอาชีพหลัก
 
ใน[[ยุคโคะฟุง]] โอซะกะถูกได้รับการพัฒนาเป็นท่าเรือเชื่อมต่อดินแดนทางตะวันตกของญี่ปุ่น มีการค้นพบสุสานที่บริเวณพื้นที่ราบของโอซะกะจำนวนมาก เป็นหลักฐานของความมั่นคงทางการเมือง นำไปสู่การสร้างประเทศในเวลาต่อมา<ref name="books.google.com">{{cite book|title=Tsuneko S. Sadao, Stephanie Wada, Discovering the Arts of Japan: A Historical Overview|url=http://books.google.com/?id=zMC4RMXQkn0C&pg=RA2-PA30&lpg=RA2-PA30&dq=osaka+kofun+period|accessdate = 2007-03-25|isbn=978-4-7700-2939-3|author1=Wada, Stephanie|year=2003}}</ref>
 
=== ยุคอะซุกะและยุคนะระ ===
ในปี [[พ.ศ. 1188]] [[จักรพรรดิโคโตะกุ]]ได้สร้างพระราชวังชื่อ '''นะนิวะ นะงะระ-โทะโยะซะงิ''' ขึ้นที่โอซะกะ<ref name="osaka-cpa.or.jp">{{cite web|title=史跡 難波宮跡, 財団法人 大阪都市協会 (Naniwa Palace Site, by Osaka Toshi Kyokai)|language=Japanese|url=http://www.osaka-cpa.or.jp/html/bunka/rekisi/naniwa1.html|accessdate = 2007-03-25}}</ref> และได้เนรมิตให้พื้นที่แห่งนี้เป็นเมืองหลวง(กรุงนะนิวะ) พื้นที่แห่งนี้ได้กลายเป็นเมืองใหม่ในสมัยนั้นและมีชื่อว่า '''นะนิวะ''' และชื่อนี้ก็ยังมีการใช้กันในปัจจุบัน เป็นการเรียกชื่อใจกลางของโอซะกะว่า นะนิวะ(浪速) และกร่อนมาเป็น นัมบะ (難波) ในทุกวันนี้
แม้จะมีการย้ายเมืองหลวงไปที่อะซุกะ (ใน[[จังหวัดนะระ]]ในปัจจุบัน) ในปี [[พ.ศ. 1198]] นะนิวะก็ยังเป็นศูนย์กลางการเชื่อมต่อทั้งทางบกและทางทะเลระหว่างยะมะโตะ ([[จังหวัดนะระ]]) [[เกาหลี]] และ [[จีน]]<ref name="edited by Peter G. Stone and Philippe G. Planel 1999 68">{{cite book |author=edited by Peter G. Stone and Philippe G. Planel |title=The constructed past: experimental archaeology, education, and the public |publisher=Routledge in association with English Heritage |location=London |year=1999 |page=68 |isbn=0-415-11768-2 |oclc= |doi=}}</ref>
 
ในปี [[พ.ศ. 1287]] นะนิวะได้กลายมาเป็นเมืองหลวงอีกครั้งหนึ่งตามคำสั่งของจักรพรรดิโชมุ แต่ได้เป็นเมืองหลวงถึงแค่ปี [[พ.ศ. 1288]] ราชสำนักก็ถูกศาลหลวงย้ายกลับไปที่เฮโจ (ปัจจุบันคือ [[นะระ]]) อีกครั้ง ในปลายยุคนะระ ท่าเรือจึงค่อยๆกลายเป็นที่พักอาศัยของชาวเดินเรือ แต่ยังคงมีความคึกคักตามบริเวณแม่น้ำ คลอง และเส้นทางการคมนาคมทางบกไปยังกรุงเฮอัน (ปัจจุบันคือ [[เคียวโตะ]]) และเมืองอื่นๆอื่น ๆ
 
=== ยุคเฮอันถึงยุคเอะโดะ ===
 
ในปี [[พ.ศ. 2039]] มีการก่อตั้ง[[ศาสนาพุทธ]] นิกายโจโดะชินชู โดยมีศูนย์กลางอยู่ที่อิชิยะมะฮงกันจิ บนพื้นที่ส่วนหนึ่งของพระราชวังนะนิวะ [[ไดเมียว]][[โอะดะ โนะบุนะงะ]] หนึ่งในสามผู้รวมประเทศญี่ปุ่นเริ่มโอบล้อมวัดในปี [[พ.ศ. 2113]] หลังจากอีกสิบปี พระในวัดก็ยอมจำนน และวัดก็ถูกทำลายลงอย่างราบคาบ [[ไดเมียว]][[โทะโยะโตะมิ ฮิเดะโยะชิ]] จึงได้สร้าง[[ปราสาทโอซะกะ]]ขึ้นแทนในที่แห่งนั้น
 
โอซะกะเป็นพื้นที่เศรษฐกิจที่สำคัญของญี่ปุ่นมาอย่างยาวนาน<ref name="Osaka city">[http://www.city.osaka.lg.jp/contents/wdu020/english/for_tourists/c_historical_overview.html Osaka city]{{Dead link|date=May 2010}}</ref> มีประชากรที่เป็นชนชั้นพ่อค้าในสัดส่วนที่สูง โดยใน[[ยุคเอะโดะ]] (พ.ศ. 2146 - พ.ศ. 2410) โอซะกะเติบโตไปเป็นเมืองใหญ่ของญี่ปุ่นและกลับมาเป็นเมืองท่าที่คึกคักอีกครั้ง วัฒนธรรมของโอซะกะมีความเกี่ยวข้องกับ[[ภาพอุกิโยะ]] อันเป็นภาพวาดที่มีชื่อเสียงใน[[ยุคเอะโดะ]] โดยในปี [[พ.ศ. 2323]] โอซะกะเป็นแหล่งวัฒนธรรม มีชื่อเสียงด้านการแสดงของโรงละคร[[คะบุกิ]]และละครหุ่น[[บุนระคุ]]
 
ในปี [[พ.ศ. 2380]] โอชิโอะ เฮฮะชิโร ซามูไรชั้นผู้น้อย ได้นำกลุ่มชาวนาก่อการกบฏขึ้นเพื่อประท้วงผู้ปกครองเมืองที่เฉยเมยต่อคนจนและครอบครัวที่ตกต่ำในพื้นที่เหล่านี้ พื้นที่เมืองเกือบ 1 ใน 4 ถูกเผาทำลายจากการกบฏในครั้งนั้น ก่อนที่เจ้าหน้าที่จากโชกุนจะปราบกบฏลงได้ และโอชิโอะก็ตัดสินใจปลิดชีพตัวเองในเวลาต่อมา
 
รัฐบาล[[โชกุน]]เปิดให้โอซะกะเป็นเมืองที่เปิดรับการค้ากับต่างประเทศเช่นเดียวกับ[[เฮียวโงะ]] (ปัจจุบันคือ [[โคเบะ]]) ในวันที่ [[1 มกราคม]] [[พ.ศ. 2411]] ก่อน[[การคืนสู่ราชบัลลังก์ของจักรพรรดิเมจิ]]เพียงเล็กน้อย
 
=== โอซะกะยุคใหม่ ===
[[ไฟล์:Sennichimae Osaka ca1916.JPG|thumb|บริเวณเซนนิชิมะเอะ ในปี พ.ศ. 2459]]
กฤษฎีการัฐบาลได้ก่อตั้งโอซะกะให้เป็นเมืองที่มีการปกครองพิเศษ ในฐานะ[[เมืองอันตั้งขึ้นโดยข้อบังคับ]] ในปี [[พ.ศ. 2432]]<ref name="osaka-info.jp">{{cite web|url=http://www.osaka-info.jp/en/about/historical.html |title=Osaka city |publisher=Osaka-info.jp |date= |accessdate=2010-05-05}}</ref> มีพื้นที่เริ่มต้น 15 ตารางกิโลเมตร คือบริเวณเขตชูโอะและนิชิในปัจจุบัน ต่อมา เมืองได้ขยายตัวจนมีพื้นที่ 222 ตารางกิโลเมตรอย่างในปัจจุบัน โอซะกะเป็นศูนย์กลางทางอุตสาหกรรมอย่างชัดเจนในช่วงการพัฒนาเศรษฐกิจตามระบบทุนนิยมของญี่ปุ่น การเติบโตของอุตสาหกรรมนี้ทำให้ชาวเกาหลีหลายคนอพยพเข้ามาตั้งตัว ระบอบการปกครองจึงเป็นแบบผสมโดยให้ความสำคัญด้านการส่งเสริมอุตสาหกรรมและการพัฒนาเมืองไปสู่ความเจริญ อัตราการรู้หนังสือเพิ่มขึ้น และระบบการศึกษาขยายตัวอย่างรวดเร็ว เกิดเป็นกลุ่มชนชั้นกลางที่รู้หนังสือและมีความชื่นชอบในงานศิลปะ
 
แต่ในอีกมุมหนึ่งของการเจริญเติบโต โอซะกะก็มีสลัม คนว่างงาน และคนจน เช่นเดียวกับในยุโรปและอเมริกา เทศบาลนครโอซะกะจึงจัดตั้งระบบจ่ายเงินช่วยเหลือเพื่อเยียวยาคนจนขึ้น โดยใช้แบบฉบับมาจากอังกฤษ ผู้ร่างนโยบายของโอซะกะได้ให้ความสำคัญกับการสร้างครอบครัวและการช่วยเหลือซึ่งกันและกันในการต่อสู้กับความยากจน ซึ่งเป็นวิธีการที่จะช่วยลดงบประมาณของนโยบายเปลี่ยนแปลงเมืองไปสู่ความร่ำรวย <ref name="Kingo Tamai 1926">Kingo Tamai, "Images of the Poor in an Official Survey of Osaka, 1923-1926." ''Continuity and Change'' 2000 15(1): 99-116. Issn: 0268-4160 Fulltext: [[Cambridge UP]]</ref>
เส้น 167 ⟶ 166:
== ที่มาของชื่อ ==
 
"โอซะกะ" หมายถึง เนินเขาใหญ่ ในสมัยก่อน โอซะกะเป็นที่รู้จักกันในชื่อ ''นะนิวะ'' และไม่มีใครทราบแน่ชัดว่าถูกเปลี่ยนเป็นโอซะกะตั้งแต่เมื่อใด แต่มีหลักฐานพบการเรียกชื่อเมืองว่าโอซะกะจากข้อความที่ปรากฏในหนังสือ ปี [[ค.ศ. 1496]] ในสมัยก่อน โอซะกะ เขียนเป็นคันจิว่า 大坂 แต่คันจิตัวหลังมักถูกอ่านผิดเป็น 士反 ซึ่งมีความหมายว่า ''กบฏซามูไร'' เป็นความหมายที่ไม่ค่อยจะดีนัก ในสมัย[[ปฏิรูปเมจิ]] ปี [[ค.ศ. 1870]] จึงได้มีการเปลี่ยนคันจิของโอซะกะใหม่เป็น 大阪 และใช้กันมาจนถึงปัจจุบัน และคันจิตัวหลัง คือ 阪 (อ่านออกเสียงแบบ[[อนโยมิ]]ว่า ''ฮัน'') ก็ใช้กันอย่างกว้างขวางว่ามีความหมายถึง[[เมืองโอซะกะ]] และ[[จังหวัดโอซะกะ]]เท่านั้น
 
== สภาพทางภูมิศาสตร์และภูมิอากาศ ==
 
=== ภูมิศาสตร์ ===
เมืองโอซะกะตั้งอยู่ที่ปากแม่น้ำทางตะวันตกของ[[แม่น้ำโยะโดะ]] ริม[[อ่าวโอซะกะ]] ล้อมรอบด้วยเมืองเล็กกว่าสิบเมืองใน[[จังหวัดโอซะกะ]] มีพื้นที่คิดเป็นร้อยละ 13 ของจังหวัดโอซะกะ โดยสมัยก่อตั้งเมืองในปี 1880 เมืองมีถูกแบ่งออกเป็นสองเขตเท่านั้นคือ ''ชูโอะ'' และ ''นิชิ'' มีพื้นที่เพียง 15.27 ตารางกิโลเมตร และปัจจุบัน เมืองเติบโตจนมีพื้นที่ 222.30 ตารางกิโลเมตร โดยการเติบโตที่รวดเร็วที่สุดเกิดขึ้นในปี [[ค.ศ. 1925]] เมื่อเมืองได้มีการขยายพื้นที่ออกไปอีก 126.01 ตารางกิโลเมตร จุดที่สูงที่สุดของเมืองโอซะกะอยู่ในเขต[[สึรุมิ (โอซะกะ)|สึรุมิ]] ความสูงเหนือระดับน้ำทะเล 37.5 เมตร และจุดที่ต่ำที่สุด อยู่ที่เขต[[นิชิโยะโดะงะวะ (โอซะกะ)|นิชิโยะโดะงะวะ]] ความสูงต่ำกว่าระดับน้ำทะเล 2.2 เมตร<ref name="city.osaka.jp">http://www.city.osaka.jp/keikakuchousei/toukei/G000/Gyh19/Gb00/Gb00.html</ref>
 
===ภูมิอากาศ===
เส้น 330 ⟶ 329:
 
=== ใจกลางเมือง ===
ใจกลางของโอซะกะมักจะถูกแบ่งคร่าวๆคร่าว ๆ ออกเป็น 2 ส่วนคือ คิตะ (北 แปลว่า เหนือ) กับ มินะมิ (南 แปลว่า ใต้) และทั้งสองส่วนนี้เชื่อมต่อกันด้วยเส้นทาง[[มิโดซึจิ]]
 
บริเวณคิตะล้อมรอบไปด้วยพื้นที่ธุรกิจและค้าปลีกในย่าน[[อุเมะดะ]] ส่วนบริเวณมินะมิหมายรวมถึงย่านช็อปปิ้งอย่าง[[นัมบะ]] [[ชินไซบะชิ]] และ[[โดทมโบะริ]] มีแหล่งบันเทิงตั้งอยู่มากมายที่สะพานโดทมโบะริ รวมทั้งสัญลักษณ์ปูยักษ์ที่มีชื่อเสียง ป้ายไฟกุลิโกะ สวนสามเหลี่ยม และหมู่บ้านอเมริกา ส่วนบริเวณระหว่างคิตะกับมินะมิก็มีโยะโดะยะบะชิและฮมมาชิที่เป็นแหล่งธุรกิจดั้งเดิม มีสถานที่ราชการ สำนักงานของธนาคารใหญ่ๆ ตั้งอยู่มากมาย ส่วนบริเวณพื้นที่ธุรกิจแห่งใหม่ของโอซะกะจะอยู่ที่บริเวณ'''อุทยานธุรกิจโอซะกะ'''ใกล้กับปราสาทโอซะกะ นอกจากนี้ ยังมีย่านธุรกิจสำคัญอื่นๆตั้งอยู่ที่บริเวณสถานีเทนโนจิและสถานีเคียวบะชิ
 
'''808 สะพานแห่งนะนิวะ''' คือคำกล่าวแสดงความเป็นเอกลักษณ์ของโอซะกะในยุคโบราณ โดยตัวเลข 808 นี้เป็นสัญลักษณ์ของแนวคิดที่ว่า"นับไม่ได้"แม้ในสมัย[[ยุคเอะโดะ|เอะโดะ]] โอซะกะจะมีสะพานเพียงแค่ประมาณ 200 แห่งก็ตาม และเนื่องจากโอซะกะเป็นเมืองที่เต็มไปด้วยแม่น้ำ คลอง สะพานแต่ละแห่งจึงมีชื่อ และบริเวณเหล่านั้นก็มักจะถูกเรียกตามชื่อของสะพานไปด้วย แม้ว่าคลองบางแห่งจากถูกถม แต่ก็ยังมีอีกหลายแห่งที่ยังหลงเหลืออยู่ ในปี [[พ.ศ. 2468]] โอซะกะมีสะพานอยู่ประมาณ 1629 แห่ง บางคลองบางแห่งก็ถูกถมไปจนเหลือสะพานเพียงแค่ 872 แห่ง โดยในจำนวนนี้ อยู่ในความรับผิดชอบดูแลของเมืองโอซะกะ 760 แห่ง<ref name="Eiichi Watanabe, Dan M. Frangopol, Tomoaki Utsunomiya 2004 195">{{cite book |author=Eiichi Watanabe, [[Dan M. Frangopol]], Tomoaki Utsunomiya |title=Bridge Maintenance, Safety, Management and Cost: Proceedings of the 2nd International Conference on Bridge Maintenance, Safety and Management |publisher=Taylor & Francis
|location=Kyoto, Japan |year=2004 |page=195 |isbn=978-90-5809-680-7 |oclc= |doi=|url=http://books.google.com/?id=ZiDvMz1CIvwC&pg=PA195r&dq=872+760#v=onepage&q=872%20760}}</ref>
 
== ประชากร ==
 
จากการสำมะโนประชากรในปี พ.ศ. 2548 โอซะกะมีผู้อยู่อาศัย 2,628,811 คน เพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ. 2543 จำนวน 30,037 คน คิดเป็นร้อยละ 1.2<ref name='C2005'>{{cite web|url=http://www.e-stat.go.jp/SG1/estat/NewListE.do?tid=000001007251 |title=2005 Population Census |accessdate=2009-02-18 |publisher=Statistics Bureau, Director-General for Policy Planning (Statistical Standards) and Statistical Research and Training Institute, Japan }}</ref> แบ่งเป็น 1,280,325 ครัวเรือน หรือประมาณครัวเรือนละ 2.1 คน ความหนาแน่นประชากรอยู่ที่ 11,836 คนต่อตารางกิโมตร โดยเหตุการณ์[[แผ่นดินไหวครั้งใหญ่คันโต พ.ศ. 2466]] ทำให้ประชาชนชาวญี่ปุ่นอพยพมาอยู่โอซะกะจำนวนมากในช่วงระหว่างปี พ.ศ. 2463-2473 จนกระทั่งในปี [[พ.ศ. 2473]] เมืองมีประชากร 2,453,573 คน กลายเป็นเมืองที่ใหญ่ที่สุดในญี่ปุ่นแซงหน้าโตเกียวที่มีประชากร 2,070,913 คนในขณะนั้น และในปี [[พ.ศ. 2483]] โอซะกะมีประชากรสูงที่สุดเป็นประวัติการณ์ที่ 3,252,340 คน ส่วนช่วงหลังสงคราม เมืองโอซะกะมีประชากรสูงสุดที่ 3,156,222 คน ในปี [[พ.ศ. 2508]] และค่อยๆค่อย ๆ ลดลงไปเนื่องจากประชาชนเริ่มทะยอยย้ายออกไปอยู่ตามเขตชานเมือง<ref name='TJC'>{{cite book | last = Prasad Karan | first = Pradyumna | authorlink = | coauthors = Kristin Eileen Stapleton | title = The Japanese City | publisher = University Press of Kentucky | date = | location = | pages = 79–81 | url = http://books.google.com/?id=eKdMdyZzjyQC | doi = | id = | isbn = 0-8131-2035-7 | year = 1997 }}</ref>
 
ชาวต่างชาติที่อาศัยอยู่ในเมืองโอซะกะมีจำนวนที่ลงทะเบียนไว้ 99,775.5 คน โดยมีกลุ่มใหญ่คือ เกาหลี 71,015 คน และจีน 11,848 คน
เส้น 405 ⟶ 404:
[[ไฟล์:Osaka umeda06s3200.jpg|thumb|upright|แถบโอซะกะเป็นเมืองเศรษฐกิจอันดับที่ 7 ของโลก รองจากโตเกียว นิวยอร์ก ลอสแอนเจลิส ชิคาโก ปารีส และลอนดอน]]
 
ผลิตภัณฑ์มวลรวมของเมืองโอซะกะในปีงบประมาณ 2547 อยู่ที่ 21.3 ล้านล้านเยน เพิ่มขึ้นจากปีก่อนหน้าร้อยละ 1.2 ตัวเลขนี้คิดเป็นร้อยละ 55 ของผลผลิตที่ได้จาก[[จังหวัดโอซะกะ]] และคิดเป็นร้อยละ 26.5 ของแถบคันไซ สามอุตสาหกรรมหลักของโอซะกะคือ การพาณิชย์ การบริการ การผลิต ในปี [[พ.ศ. 2547]] มีสัดส่วนร้อยละ 30, 26 และ 11 ตามลำดับ รายได้ต่อหัวของเมืองอยู่ที่ 3.3 ล้านเยน สูงกว่าค่าเฉลี่ยของจังหวัดโอซะกะร้อยละ 10<ref name="official">{{cite web|title=大阪市データネット 市民経済計算 (Osaka City Datanet: Osaka City Economy)|language=Japanese|url=http://www.city.osaka.jp/keikakuchousei/toukei/E000/Ea00/Ea00.html|accessdate = 2007-03-25}}</ref> ขณะที่บริษัทมาสเตอร์การ์ดรายงานว่า โอซะกะเป็นเมืองเศรษฐกิจอันดับ 19 ของโลก และเป็นหัวใจสำคัญของระบบเศรษฐกิจของโลก<ref name="mastercard.com">http://www.mastercard.com/us/company/en/insights/pdfs/2008/MCWW_WCoC-Report_2008.pdf</ref>
 
[[ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ]]ในส่วนของโอซะกะและโคเบะอยู่ที่ 341 พันล้านเหรียญสหรัฐ นับเป็นเมืองปากแม่น้ำที่มีผลผลิตมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลกเช่นเดียวกับปารีสและลอนดอน<ref name="pwc.com">[http://www.pwc.com/uk/eng/ins-sol/publ/ukoutlook/pwc_ukeo-section3-march07.pdf ]{{Dead link|date=May 2010}}</ref>
 
ตามประวัติศาสตร์แล้ว โอซะกะเป็นศูนย์กลางการค้าของญี่ปุ่นมาตั้งแต่สมัยโบราณ โดยเฉพาะในยุคกลางและก่อนยุคใหม่ โดยในปี [[พ.ศ. 2468]] มีการก่อตั้งบริษัทหลักทรัพย์โนมูระ อันเป็นบริษัทโบรกเกอร์หุ้นบริษัทแรกของญี่ปุ่น จนกระทั่งปัจจุบัน โอซะกะก็ยังเป็นศูนย์กลางการแลกเปลี่ยนฟิวเจอร์สที่สำคัญของโลก แม้จะมมีบริษัทหลายแห่งได้ย้ายสำนักงานหลักไปอยู่ที่[[โตเกียว]] แต่ก็มีบริษัทใหญ่หลายแห่งที่สำนักงานใหญ่ยังตั้งอยู่ที่โอซะกะ เช่น [[พานาโซนิค]] [[ชาร์ป]] และ[[ซันโย]] และเมื่อเร็วๆนี้ นายกเทศมนตรีจุนิชิ เซะกิ ได้เริ่มโครงการดึงดูดการลงทุนทั้งจากในประเทศและต่างประเทศ<ref name="yomiuri.co.jp">[http://www.yomiuri.co.jp/dy/business/20061228TDY16003.htm ]{{Dead link|date=May 2010}}</ref>
 
ศูนย์แลกเปลี่ยนหลักทรัพย์โอซะกะ ตั้งอยู่ที่เมืองโอซะกะ เน้นความสำคัญด้านการแลกเปลี่ยนอนุพันธ์ เช่น ฟิวเจอร์สนิกเกอิ 225 นอกจากนี้ การควบรวมกับ JASDAQ ก็ช่วยให้การแลกเปลี่ยนหลักทรัพย์ของโอซะกะกลายเป็นแหล่งก่อตั้งบริษัทแลกเปลี่ยนหลักทรัพย์ที่ใหญ่ที่สุดในญี่ปุ่น<ref name="経営に資する統合的内部監査">{{cite web|author=経営に資する統合的内部監査 |url=http://www.j-cast.com/2008/06/11021633.html |title=大証との経営統合、ようやく決着 ジャスダック : J-CASTニュース |publisher=J-cast.com |date= |accessdate=2010-05-05}}</ref>
เส้น 459 ⟶ 458:
 
===แหล่งซื้อสินค้าและอาหาร===
โอซะกะเป็นแหล่งค้าส่งและค้าปลีกขนาดใหญ่ มีร้านค้าส่ง 25,228 ร้านและร้านค้าปลีก 34,707 ร้านในปี [[พ.ศ. 2547]]<ref name="ReferenceB">http://www.city.osaka.jp/keikakuchousei/toukei/G000/Gyh17/Ga00/Ga00.html</ref> ร้านค้าส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในเขตชูโอะ (10,468 ร้าน) และเขตคิตะ (6,335 ร้าน) มีร้านค้าหลายรูปแบบตั้งแต่'''โชเตงไก(商店街)'''แบบดั้งเดิมไปจนถึงห้างสรรพสินค้าบนดินและใต้ดิน '''โชเตงไก'''เป็นรูปแบบของร้านแบบดั้งเดิมที่พบได้ทั่วญี่ปุ่น และโอซะกะมีโชเตงไกที่ยาวที่สุดในโลกอยู่ที่ ''เทนจินบะชิ'' ความยาว 2.6 กิโลเมตร ขายสินค้าหลากหลายตั้งแต่ของใช้ภายในบ้าน เสื้อผ้า ตลอดจนอาหารเลี้ยงสัตว์
 
พื้นที่สินค้าอีกแห่งหนึ่งที่สำคัญคือ เดนเดนทาวน์ เป็นแหล่งรวมสินค้าอิเล็กทรอนิกส์และการ์ตูน/อะนิเมะที่สำคัญของโอซะกะ คล้ายกับย่าน[[อะกิฮะบะระ]]ของ[[โตเกียว]] ส่วนย่าน[[อุเมะดะ]]เป็นแหล่งรวมห้างสรรพสินค้าและห้างโยะโดะบะชิคาเมร่า อันเป็นห้างสรรพสินค้าด้านอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าชื่อดังของญี่ปุ่น
เส้น 469 ⟶ 468:
แหล่งช็อปปิ้งแหล่งอื่นๆของโอซะกะได้แก่
* หมู่บ้านอเมริกา - สินค้าสำหรับวัยรุ่น
* [[โดทมโบะริ]] - ส่วนหนึ่งของนัมบะและถูกจัดว่าเป็นใจกลางเมือง
* [[นัมบะ]] - พื้นที่ซื้อขายสินค้าหลักๆหลัก ๆ ท่องเที่ยว และร้านอาหาร
* [[ชินไซบะชิ]] - ของประดับ เสื้อผ้า และห้างสรรพสินค้า
* [[อุเมะดะ]] - โรงภาพยนตร์ เครื่องสำอาง และห้างสรรพสินค้า
เส้น 510 ⟶ 509:
* [[ปราสาทโอซะกะ]]
* ศาลเจ้าซังโค
* วัดชิเทนโนจิ - วัดพุทธที่เก่าแก่ที่สุดในญี่ปุ่นใน [[พ.ศ. 1136]]
* ศาลเจ้าซุมิโยะชิ ไทชะ - ศาลเจ้าชินโตที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของญี่ปุ่น สร้างในปี [[พ.ศ. 754]]
 
=== แหล่งบันเทิง ===
* [[โดทมโบะริ]] - แหล่งท่องเที่ยว อาหาร เป็นสัญลักษณ์ของโอซะกะ
* [[นัมบะ]]และ[[ชินไซบะชิ]] - ตั้งอยู่ที่เขตชูโอะ มักถูกเรียกรวมว่าบริเวณมินะมิ เป็นถนนช็อปปิ้งช็อปปิง ร้านอาหาร บาร์ และแหล่งเที่ยวกลางคืนที่ไม่รู้จบ
* ชินเซะไก - อีกสัญลักษณ์หนึ่งของโอซะกะ แหล่งอาหาร เครื่องดื่ม มีหอคอยซือเตนคะคุ และขายคะชิคะสึราคาย่อมเยา
* เดนเดนทาวน์ - แหล่งขายเครื่องใช้ไฟฟ้า อะนิเมะ เทียบเท่ากับ[[อะกิฮะบะระ]]ของ[[โตเกียว]]
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/โอซากะ"