ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์คอนแวนต์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 6:
| native_name =
| en_name = St.Francis Xavier Convent School
| image =
| image = [[ไฟล์:http://www.sf.ac.th/main/images/stories/imgForWeb/SF_logo_Eng%20NewResize.jpg]]|150px]]
| caption =
| address = 92 ซอยมิตรภาพ ถนนสามเสน [[แขวงวชิรพยาบาล]] [[เขตดุสิต]] [[กรุงเทพมหานคร]] 10300
| abbr= ซ.ฟ. (SF)
| code =
| establish_date = [[พ.ศ. 2486]]
| founder =
| type = [[โรงเรียนเอกชน|เอกชน]]
บรรทัด 17:
| class_range = อนุบาล1-มัธยมศึกษาปีที่6
| headman = เซอร์สแตลลา นิลเขต
| motto = ศึกษาดี มีวินัย ใจเมตตา ใฝ่หาคุณธรรม เลิศล้ำการงาน
| motto =
| song = เซนต์ฟรังซีสซาเวียร์ คอนแวนต์, นามนี้เป็นที่รัก, ดุจดวงมณี, แทนสายใยในเซนต์ฟรังฯ, นานแค่ไหนใจเหมือนเดิม
| color = สีเขียว, สีเหลือง
| campus =
| branch =
บรรทัด 26:
}}
{{distinguish|โรงเรียนเซนต์ฟรังซีสเซเวียร์ }}
'''โรงเรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์คอนแวนต์''' ก่อตั้งขึ้นเมื่อ [[พ.ศ. 2468]] ตั้งอยู่เลขที่ 92 ซอยมิตรคาม [[ถนนสามเสน]] [[เขตดุสิต]] [[กรุงเทพมหานคร]] เป็นโรงเรียนประเภท[[สามัญศึกษา]] เปิดสอนตั้งแต่อนุบาล 2 ถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย รับเฉพาะนักเรียนหญิง ดำเนินกิจการในรูปแบบของมูลนิธิส่งเสริมการศึกษา[[คณะภคินีเซนต์ปอลเดอชาร์ตร]] แห่งประเทศไทย
 
โรงเรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์คอนแวนต์ ตั้งอยู่เลขที่ 92 ซอยมิตรคาม ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร บนเนื้อที่ทั้งหมด 5 ไร่ 59 ตารางวา โรงเรียนเซนต์ฟรังฯเป็นโรงเรียนสตรีล้วน เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล 1 - มัธยมศึกษาปีที่ 6 (แต่เมื่อปี พ.ศ. 2554 ได้เปิดทำการสอนในระดับชั้นอนุบาล 1 เป็นครั้งแรก) โดยระดับมัธยมปลายนั้นแบ่งออกเป็น 3 แผนก คือ
โรงเรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์คอนแวนต์ ตั้งอยู่เลขที่ 92 ซอยมิตรคาม ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร บนเนื้อที่ทั้งหมด 5 ไร่ 59 ตารางวา โรงเรียนเซนต์ฟรังฯเป็นโรงเรียนสตรีล้วน เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล 1 - มัธยมศึกษาปีที่ 6 (แต่เมื่อ พ.ศ. 2554 ได้เปิดสอนในระดับชั้นอนุบาล 1 เป็นครั้งแรก) โดยระดับมัธยมปลายนั้นแบ่งออกเป็น 3 แผนก คือ
- แผนการเรียนคณิต - อังกฤษ [สายศิลป์คำนวณ]
- *แผนการเรียนคณิต - วิทย์อังกฤษ [(สายวิทย์]ศิลป์คำนวณ)
-* แผนการเรียนอังกฤษคณิต - ฝรั่งเศสวิทย์ [(สายศิลป์ภาษา]วิทย์)
* แผนการเรียนอังกฤษ - ฝรั่งเศส (สายศิลป์ภาษา)
 
== ประวัติโรงเรียน ==
{{ตรวจลิขสิทธิ์}}
โรงเรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์ คอนแวนต์เป็นโรงเรียนแห่งแรกที่สอนภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในตำบลบ้านญวน อำเภอสามเสน จังหวัดพระนคร ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2468 เดิมตั้งอยู่เลขที่ 525 ถนนราชวิถี สังฆราชเรอเนแปโรสได้ยกที่ดินและอาคารสองชั้น ให้เป็นโรงเรียนชั่วคราว ตามความประสงค์ของบาทหลวงบรัวซาต์ ( Broizat) เจ้าอาวาสวัดบ้านญวน สามเสน ที่จะให้คณะภคินีเซนต์ปอล เดอ ชาร์ตร เข้ามาจัดการศึกษาให้เด็กหญิง ในชุมชนเขตวัดสามเสน และชุมชนใกล้เคียง โดยมีซิสเตอร์เดซิเร ดำรงตำแหน่งอธิการิณี และนักบวชอีก 4 คน เป็นผู้รับรองหนังสือ ในปีแรกที่เปิดสอนมีนักเรียน 59 คน ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ 92 ซอยมิตรคาม ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร บนเนื้อที่ 5 ไร่ 59 ตารางวา
 
โรงเรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์ คอนแวนต์เป็นโรงเรียนแห่งแรกที่สอนภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในตำบลบ้านญวน อำเภอสามเสน จังหวัดพระนคร ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2468 เดิมตั้งอยู่เลขที่ 525 ถนนราชวิถี สังฆราชเรอเนแปโรสได้ยกที่ดินและอาคารสองชั้น ให้เป็นโรงเรียนชั่วคราว ตามความประสงค์ของบาทหลวงบรัวซาต์ ( Broizat) เจ้าอาวาสวัดบ้านญวน สามเสน ที่จะให้คณะภคินีเซนต์ปอล เดอ ชาร์ตร เข้ามาจัดการศึกษาให้เด็กหญิง ในชุมชนเขตวัดสามเสน และชุมชนใกล้เคียง โดยมีซิสเตอร์เดซิเร ดำรงตำแหน่งอธิการิณี และนักบวชอีก 4 คน เป็นผู้รับรองหนังสือ ในปีแรกที่เปิดสอนมีนักเรียน 59 คน ปัจจุบันตั้งอยู่เลขที่ 92 ซอยมิตรคาม ถนนสามเสน แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร บนเนื้อที่ 5 ไร่ 59 ตารางวา
หลักสูตรที่เปิดสอนครั้งแรกเป็นหลักสูตรภาษาอังกฤษ และภาษาฝรั่งเศส ซึ่งมีคณะภคินีเซนต์ปอล เดอ ชาร์ตร เป็นผู้จัด โดยที่นักเรียนสามารถเลือกเรียนได้ตามความถนัดและความสนใจ วิชาบังคับคือ วิชา ภาษาไทย ดนตรี วาดเขียน และงานเย็บปักถักร้อย
 
นอกจากการจัดการศึกษาดังกล่าว คณะภคินีเซนต์ปอล เดอ ชาร์ต ยังให้การอบรมด้านศีลธรรม จริยธรรม และการดำเนินชีวิตแก่นักเรียนทุกคนที่เข้ารับการศึกษาในโรงเรียน เพื่อให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ที่เน้นเรื่องความซื่อสัตย์ ความเรียบง่าย และการทำงาน การสอนแบ่งออกเป็นชั้นมูล ชั้นเตรียม ชั้นประถมปีที่หนึ่งถึงชั้นประถมปีที่สี่ ชั้นมัธยมปีที่หนึ่งถึงชั้นมัธยมปีที่หก ซึ่งเป็นชั้นสูงสุดของโรงเรียน ในปีการศึกษา พ.ศ. 2473 นักเรียนที่จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่หกรุ่นแรกต้องสอบข้อสอบของกระทรวงธรรมการ ปี พ.ศ. 2470 โรงเรียนได้ปรับโครงสร้างหลักสูตรให้เป็นแนวเดียวกับโครงสร้างหลักสูตรที่กระทรวงศึกษาธิการกำหนด และได้รับการรับรองวิทยฐานะในปี พ.ศ. 2489
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ พระบรมราชินีนาถของปวงชนชาวไทย ทรงเป็น “ศิษย์เกียรติยศ” ที่ทำให้ชาวเซนต์ฟรังฯ มีความภาคภูมิใจยิ่ง พระองค์เคยทรงศึกษาในสถาบันแห่งนี้ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2483-2489 หลังจากที่พระองค์ท่านได้เสด็จไปศึกษาต่อยังต่างประเทศ ก็ได้ทรงกลับมาเยี่ยมโรงเรียนในวาระต่าง ๆ ถึง 4 ครั้ง คือวันที่ 18 เมษายน พ.ศ. 2493 เสด็จเยี่ยม “ครั้งแรก” วันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2516 ทรงเปิดตึก “มิตราคม” วันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2518 ทรงเปิดงานฉลองครบ 50 ปีโรงเรียน และวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2522 ทรงเปิดอาคาร “อุดมวิทย์”
พระมหากรุณาธิคุณอันยิ่งใหญ่หาที่เปรียบมิได้แห่งองค์สมเด็จพระนางเจ้าฯ ตรึงตราแน่นในความทรงจำของคณะผู้บริหาร ครู นักเรียน และผู้ที่เกี่ยวข้องกับโรงเรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์ คอนแวนต์อย่างมิรู้ลืมเลือน
ปัจจุบันโรงเรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์ เป็นโรงเรียนประเภทสามัญศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการศึกษาเอกชน เปิดสอนตั้งแต่ระดับก่อนประถมศึกษา ถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รับเฉพาะนักเรียนหญิง ดำเนินกิจการในรูปแบบมูลนิธิ ส่งเสริมการศึกษาคณะภคินีเซนต์ปอล เดอ ชาร์ตแห่งประเทศไทย โดยมีซิสเตอร์ดอมินิก กิจเจริญ เป็นผู้รับใบอนุญาต ซิสเตอร์มารีโนเอล ผิวเกลี้ยง เป็นผู้จัดการ/อาจารย์ใหญ่ มีบุคลากรครู 160 คน ปฏิบัติการสอน 139 คน สนับสนุนการสอน 21 คน ปฏิบัติการสอนและช่วยงานบริหาร 25 คน นักการภารโรง 30 คน นักเรียนทั้งหมด 3,021 คน
 
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์ พระบรมราชินีนาถ เสด็จมาทรงเปิดตึกมิตราคมเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2516 ทรงเปิดงานฉลองครบ 50 ปีของโรงเรียนเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2518 และทรงเปิดอาคารอุดมวิทย์เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2522
==ปรัชญาการศึกษาและคติพจน์==
'''ปรัชญาการศึกษา'''
มนุษย์ที่มีคุณภาพ คือ มนุษย์ที่มีคุณธรรมและความรู้
'''คติพจน์'''
ศึกษาดี มีวินัย ใจเมตตา ใฝ่หาคุณธรรม เลิศล้ำการงาน
==อัตลักษณ์และเอกลักษณ์ของโรงเรียน==
'''อัตลักษณ์โรงเรียน'''
ซื่อตรง เรียบง่าย การงาน รัก-เมตตา กตัญญู-รู้คุณ
'''เอกลักษณ์โรงเรียน'''
เด่นเทคโนโลยี เป็นสตรีที่สง่างาม
 
'''เด่นเทคโนโลยี''' หมายถึง ผู้ที่มีความรู้และทักษะกระบวนการในการใช้เครื่องมือเทคโนโลยี ได้อย่างคล่องแคล่วเหมาะสมกับวัย และสามารถนำความรู้
ที่ได้ไปใช้ในการสื่อสาร ทำงาน สร้างผลงาน หรือประกอบอาชีพ ได้อย่างถูกต้อง สร้างสรรค์ ด้วยจิตสำนึกและความรับผิดชอบ
 
'''สตรีที่สง่างาม''' หมายถึง สตรีที่มีความงดงามทั้งภายในและ ภายนอก เป็นที่ยอมรับ ชื่นชม และประทับใจแก่ผู้พบเห็น
 
ความงดงามภายใน เป็นความงดงามด้านจิตใจ คือ เป็นผู้ที่มีจิตใจดี มีความกตัญญูกตเวทิตา มีความซื่อตรง จริงใจ มีอิสรภาพ กล้าตัดสินใจบนความถูกต้องดีงาม พูดดี ทำดี คิดดี และพร้อม ที่จะเสียสละเพื่อผู้อื่น
ความงดงามภายนอก เป็นความงดงามของภาพลักษณ์ที่ผู้คนพบเห็น คือ เป็นผู้ที่มีบุคลิกภาพที่ดี มีภาวะผู้นำ มีความรู้ความสามารถ สามารถใช้ภาษาในการสื่อสารได้เป็นอย่างดี มีความนอบน้อมถ่อมตน มีความคิดสร้างสรรค์ และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
 
==เพลงประจำโรงเรียน==
 
'''เพลง เซนต์ฟรังซีสซาเวียร์ คอนแวนต์'''
'''คำร้อง : อ.บุญพิทักษ์ ไกรประสิทธิ์
ทำนอง : อ. แมนรัตน์ ศรีกรานนท์
'''
 
สถานที่ศึกษานั้นสุดสรรหา ทั่วทั้งหล้าแหล่งเขตคามงามเด่นไซร์
เซนต์ฟรังซีสซาเวียร์หนึ่งโรงเรียนใหญ่ พวกเราได้เรียนวิชามาเป็นทุน
สุดเสกสรรพรรณนามาแถลง ทุกสิ่งแจ้งในฤทัยได้เกื้อหนุน
คราจากไปน้อมระลึกนึกถึงคุณ ได้เจือจุนให้เราเด่นคือเซนต์ฟรังฯ
แต่ใหญ่น้อยไม่ห่างไกลจากโรงเรียน เราต่างเพียรได้เรียนรู้ครูสอนสั่ง
ได้เล่าเรียนปราดเปรื่องวิทย์จิตใจฝัง เป็นพลังให้ก้าวหน้าคราจากไป
อันตึกเรียนสนามเล่นเป็นเช่นบ้าน เหมือนวิมานของมวลมิตรจิตผ่องใส
มิอาจเลือนความรักจากเซนต์ฟรังฯไป ถึงอยู่ไหนใจไม่คลายจนวายปราณ
 
'''
เพลง นามนี้เป็นที่รัก'''
'''
คำร้อง : อ.บุญพิทักษ์ ไกรประสิทธิ์
ทำนอง : อ.สง่า อารัมภีร์
'''
นามหนึ่งเรารักแท้มั่นคง นามที่รวมเผ่าพงศ์เพริดแพร้ว
นามนั้นส่งเราตรงเจิดแจ่มจรัสนา นามที่ตรึงใจแผ้วเลิศแล้วเซนต์ฟรังฯ
เราสำนึกตรึกนักวรคุณ จารึกหนักหวานละมุนมั่นไว้
เราต่างรับสนับสนุนสอนสั่ง สอนศิษย์สุขสวัสดิ์ไซร์แน่แท้เซนต์ฟรังฯ
 
 
'''เพลง ดุจดวงมณี'''
'''คำร้อง : อ. บุญพิทักษ์ ไกรประสิทธิ์
ทำนอง : อ. สง่า อารัมภีร์'''
 
มวลเธอเด่นดังดุจเพชราสง่านัก เด่นประเสริฐสิทธิศักดิ์ประจักษไฉน
เธอดุจนิลนพเกล้าพราววิไล สว่างไสวไปประดับกับสังคม
เธอไปเป็นดวงมณีอันมีค่า เป็นทรัพยากรของชาติมาศสุขสม
เธอช่วยงานการสำคัญมั่นนิยม เกิดรื่นรมย์ทั่วหล้ามาจากเธอ
เธอคือศิษย์เซนต์ฟรังฯพลังแรง ไปส่องแสงแห่งความดีทวีเสมอ
เธอจากไปไหนจงจำไว้ไม่ลืมเธอ รักเธอเสมอศิษย์เซนต์ฟรังฯ ศิษย์เซนต์ฟรังฯ
 
 
'''เพลง แทนสายใยในเซนต์ฟรังฯ
 
คำร้อง : อ. ธีรยุทธ ตุ้มฉาย
ทำนอง : อ.วีรยุทธ์ สุภานิจวงศ์
การดำเนินเสียงประสานจาก Canon in D
ประพันธ์โดย Johann Pachabel'''
 
ในหัวใจพวกเราทุกคน ต่างสุขล้นในใจ
นานแสนนานบ้านเรารักกัน มีสุขอบอุ่นในดวงใจ
เหมือนเราถักทอสายใย จากเส้นผมบางเท่าใด
เปียน้อยยังคงรัดสนิทแนบใจอยู่ ดังพวกเราผูกพัน
ผ่านร้อนเย็นมากมายร้อยพัน ผันเป็นหมื่นเป็นพันแสน
กี่ร้อยปีก็ยังคงความหมาย นั่นคือรักให้กันอยู่
ถึงแม้มีเรื่องราวมากมาย อาจจะไม่ค่อยเข้าใจ
เพียงขอเรายังตั้งใจทำดีอยู่ ตอบแทนบ้านเรา
***ผ่านร้อนเย็นมากมายร้อยพัน ผันเป็นหมื่นเป็นพันแสน
กี่ร้อยปีก็ยังคงความหมาย นั่นคือรักเซนต์ฟรังฯ
หากเราจะมีคำใดมาแทน แทนหัวใจรักเรา
ไม่มีใดเทียบเลยสิ่งหนึ่งคือ รักกันข้างในหัวใจนั้น
และต่อจากนี้ เราทุกคนมั่นใจ
เชื่อในความผูกพัน จะคงยังรักกัน
ให้เราเห็นรอยยิ้มยังสดใส ด้วยรักเราในเซนต์ฟรังฯ **
และต่อจากนี้ เราทุกคนมั่นใจ
เชื่อในความผูกพัน จะคงยังรักกัน
ให้คำสัญญาไว้แทนความหมาย แทน “ สายใยในเซนต์ฟรังฯ”
 
'''
เพลง นานแค่ไหนใจเหมือนเดิม
 
คำร้อง : อ. ธีรยุทธ ตุ้มฉาย
ทำนอง : อ.วีรยุทธ์ สุภานิจวงศ์'''
 
ไกลไปเหมือนจะเนิ่นนาน คิดถึงเรื่องราว ถึงบรรยากาศ
ตึกเคยนอนมาตั้งแต่เล็ก เหมือนตอนยังเด็กเพิ่งจะผ่านไป
จากกันไปไม่มีที่ใด แสนจะอบอุ่นเหมือนดังบ้านเรา
ครูพร่ำบ่นสอน เหมือนเช่นวันก่อน ก็ยังอุ่นใจ
ที่ที่เคยอยู่ เล่นเรียนเขียน หมั่นพากเพียรจนโตไม่เคยเว้น
จดจำดั่งภาพเมื่อวันก่อน เรื่องราวยังคงผูกพันใจเราตลอดไป
คือพวกผองที่น้องพี่เพื่อนเซนต์ฟรังฯ ร่วมเรียงฝันไว้ด้วยกัน
คือความหลังที่แม้เรื่องจะผ่านไปไม่กี่วัน ยังจดจำอยู่ในใจทุกเวลา
ให้บทเพลงนี้ เหมือนตัวแทน ใจเราที่ผูกพัน
และสัญญาจะไม่ลืม บ้านที่เราผูกพัน
จะกี่วันแม้ห่างกันสักเพียงไหน ใจเหมือนเดิม
เวลาที่มีหมื่นพันล้าน ความรู้สึกอาจมีหลายสิ่ง
อาจมีหลายอย่างยังจำ ไม่เสื่อมคลาย
คือ พวกผองที่น้องพี่เพื่อนเซนต์ฟรังฯ ร่วมเรียงฝันไว้ด้วยกัน
คือความหลังที่แม้เรื่องจะผ่านไปไม่กี่วัน ยังจดจำอยู่ในใจทุกเวลา
ให้บทเพลงนี้ เหมือนตัวแทน ใจเราที่ผูกพัน
และสัญญาจะไม่ลืม บ้านที่เราผูกพัน
จะกี่วันแม้ห่างกันสักเพียงไหน ใจเหมือนเดิม
 
==ศิษย์เกียรติยศ==
นับตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันโรงเรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์คอนแวนต์ เป็นสถาบันการศึกษาที่มีคุณภาพในการผลิตเยาวชนไทย
ให้เป็นพลเมืองดีของสังคม และกระทำคุณประโยชน์แก่ประเทศชาตินับเอนกอนันต์ ดังปรากฏแก่สายตาสาธารณชน อันนำไปสู่ชื่อเสียง
ของตนเอง โรงเรียน และวงศ์ตระกูลศิษย์ที่เป็นความภาคภูมิใจยิ่งของโรงเรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์ คอนแวนต์ คือ '''สมเด็จพระนางเจ้า
สิริกิต์พระบรมราชินีนาถ''' ซึ่งเปรียบประหนึ่งยอดมณีอันล้ำค่า เป็นศรีสง่าของโรงเรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์ คอนแวนต์และเป็นเกียรติ
แห่งชาติไทย
 
'''สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ''' ทรงพระราชสมภพเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม พุทธศักราช 2475 เบื้องตนทรงอยู่
ในความดูแลของ เจ้าพระยาวงศานุประพันธ์ ม.ร.ว.สท้านสนิทวงศ์ และท้าววนิดาพิจาริณีเนื่องจากพระวรวงศ์กรมหมื่นจันทบุรีสุรนาถ
พระบิดาเสด็จไปรับราชการในต่างประเทศ ต่อมาพระบิดาเสด็จกลับประเทศไทย พระองค์จึงได้กลับสู่วังเทเวศน์
 
หม่อมหลวงบัว พระมารดา มีความเห็นว่าลูกผู้หญิงต้องมีอาชีพที่พอจะเลี้ยงตนเองและอาชีพที่ท่านคิดว่าดีคือ การเป็นครู
สอนเปียโน จึงย้ายพระองค์จากโรงเรียนราชินี ไปอยู่โรงเรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์คอนแวนต์ ซึ่งเป็นโรงเรียนที่มีครูสอนเปียโน เมื่อวันที่
23 พฤษภาคม พุทธศักราช 2483
 
โดยทรงศึกษาตั้งแต่ระดับชั้นประถมปีที่สอง จนจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่สาม เลขประตัวของพระองค์ คือ 371และมีพระ
สหายร่วมชั้นเรียน 37 คนพระสหายที่เคยศึกษาอยู่ในโรงเรียนกล่าวถึงความประทับใจในพระอัธยาศัยของพระองค์ คือ ทรงมีความ
ซื่อสัตย์อ่อนโยนกตัญญูทรงไม่เคยลืมพระสหาย และครูอาจารย์เมื่อมีโอกาสจะโปรดฯ ให้เข้าเฝ้าเป็นการส่วนพระองค์อย่างน้อยปีละครั้ง
 
ทั้งยังทรงแสดงความกตัญญูโดยส่งราชเลขาส่วนพระองค์ไปเยี่ยมครู อาจารย์ รวมทั้งคณะซีสเตอร์ที่เคยสอน ผู้ใดเจ็บป่วย
จะทรงรับไว้ในพระบรมราชินูปถัมภ์ ผู้ใดเสียชีวิตจะทรงส่งพวงหรีดเพื่อแสดงความเสียใจต่อครอบครัวของผู้ล่วงลับ อันนำความ
ซาบซึ้งและปลื้มปิติอย่างยิ่ง ไปสู่ผู้ที่ได้รับพระมหากรุณาธิคุณ...ขอพระองค์ทรงพระเจริญยิ่งยืนนาน...
 
ปัจจุบันโรงเรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์ เป็นโรงเรียนประเภทสามัญศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการศึกษาเอกชน เปิดสอนตั้งแต่ระดับก่อนประถมศึกษา ถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รับเฉพาะนักเรียนหญิง ดำเนินกิจการในรูปแบบมูลนิธิ ส่งเสริมการศึกษาคณะภคินีเซนต์ปอล เดอ ชาร์ตแห่งประเทศไทย โดยมีซิสเตอร์ดอมินิก กิจเจริญ เป็นผู้รับใบอนุญาต ซิสเตอร์มารีโนเอล ผิวเกลี้ยง เป็นผู้จัดการ/อาจารย์ใหญ่ มีบุคลากรครู 160 คน ปฏิบัติการสอน 139 คน สนับสนุนการสอน 21 คน ปฏิบัติการสอนและช่วยงานบริหาร 25 คน นักการภารโรง 30 คน นักเรียนทั้งหมด 3,021 คน
 
==ศิษย์เก่าที่โด่งดังมีชื่อเสียง ==
<!--โปรดเรียงตามลำดับอักษร-->
- นันทิดา แก้วบัวสาย
* [[ชาลิสา บุญครองทรัพย์]]
- นุ้ย สุจิรา อรุณพิพัฒน์
* [[ธัญญา วชิรบรรจง]]
- ชาลิสา บุญครองทรัพย์
- ตุ๊ก* [[ดวงตา ตุงคะมณี]]
* [[นันทิดา แก้วบัวสาย]]
- ธัญญา วชิรบรรจง
* [[พันธุ์ทิพย์ กาญจนะจิตรา สายสุนทร]]
- เก้า สุภัสสรา ธนชาต
* [[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ|สิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ, สมเด็จพระนางเจ้า]]
* [[สุจิรา อรุณพิพัฒน์]]
* [[สุภัสสรา ธนชาต]]
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
เส้น 192 ⟶ 65:
[[หมวดหมู่:โรงเรียนในเขตดุสิต]]
[[หมวดหมู่:โรงเรียนสตรีในประเทศไทย]]
[[หมวดหมู่:เขตดุสิต|รโรงเรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์คอนแวนต์]]
 
{{โครงสถานศึกษา}}