ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาแลมป์เพรย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต ลบ: nl (strong connection between (2) th:ปลาแลมป์เพรย์ and nl:Petromyzontiformes),pl (strong connection between (2) th:ปลาแลมป์เพรย์ and pl:Minogokształtne)
ป้ายระบุ: ลบลิงก์ข้ามภาษา
Karnsasin (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 21:
'''ปลาแลมป์เพรย์''' ({{lang-en|Lamprey, Lamprey eel}}) เป็น[[ปลา]]ที่อยู่ใน[[ชั้น (ชีววิทยา)|ชั้นใหญ่]][[ปลาไม่มีขากรรไกร]] จัดอยู่ในอันดับ Petromyzontiformes และวงศ์ Petromyzontidae
 
===บทนำ===
ปลาแลมป์เพรย์มีลำตัวยาวลักษณะคล้าย[[ปลาไหล]] ลำตัวด้านหลังมักจะเป็น[[สีดำ]] มีครีบหลังและครีบหาง แต่ไม่มีครีบคู่ ไม่มีเกล็ด ปากจะอยู่ค่อนลงมาทางด้านท้อง มีลักษณะเป็น[[วงกลม]]ใช้สำหรับดูด มีฟันแหลมคมจำนวนมากที่เจริญดีอยู่ในอุ้งปาก รูจมูกมี 1 รูซึ่งอยู่กึ่งกลางด้านบนของหัว มีตา 1 คู่ ถุงเหงือก 7 ถุง และมี[[ช่องเหงือก]] 7 ช่อง [[หัวใจ]]ประกอบด้วย[[เวนตริเคิล]] 1 ห้อง และ[[เอเตรียม]] 1 ห้อง โครงร่างเป็น[[กระดูกอ่อน]]และเส้นใย และยังคงมี[[โนโตคอร์ด]]อยู่ เส้นประสาทหลัง มีการพัฒนาเป็นสมองซึ่งมีเส้นประสาทสมอง 8-10 คู่ ทางเดินอาหารไม่มี[[กระเพาะอาหาร]] ส่วนลำไส้บิดเป็นเกลียว มีลักษณะเพศแยกออกเป็น[[เพศผู้]]และ[[เพศ]]เมียชัดเจน
====ปลาแวมไพร์ดูดเลือด====
 
ปลาแลมป์เพรย์ เป็นปลาไม่มีขากรรไกรที่มีชีวิตอยู่ในปัจจุบัน มีรูปร่างคล้ายปลาไหล เป็นปรสิตในปลาและเต่า โดยจะใช้ปากเกาะเหยื่อแล้วใช้ฟันและลิ้นครูดเอาเนื้อของเหยื่อออก ทำให้เลือดของเหยื่อไหลผ่านเข้าปากได้ตลอดเวลา จะเกาะดูดเลือดจนกว่าตัวเหยื่อแห้งจึงปล่อยออกหาเหยื่อตัวใหม่ <ref>พิชยา ณรงค์พงศ์. 2555. มีนวิทยา. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร. 321 หน้า.</ref>
<br />
====ลักษณะของปลาแลมป์เพรย์====
ปลาแลมป์เพรย์แลมเพรย์ มีลำตัวยาวลักษณะคล้าย[[ปลาไหล]] ลำตัวด้านหลังมักจะเป็น[[สีดำ]] มีครีบหลังและครีบหาง แต่ไม่มีครีบคู่ ไม่มีเกล็ด ปากจะอยู่ค่อนลงมาทางด้านท้อง มีลักษณะเป็น[[วงกลม]]ใช้สำหรับคล้ายแผ่นดูด มีฟันแหลมคมจำนวนมากที่เจริญดีอยู่ในอุ้งปากและบนลิ้น มีรูจมูกมี 1 รูซึ่ง อยู่กึ่งกลางด้านบนของหัว มีตา 1 คู่ ถุงเหงือก 7-14 ถุงคู่ และมี[[ช่องเหงือก]]หัวใจ 72 ช่องห้อง [[หัวใจ]]ประกอบด้วย[[เวนตริเคิล]] 1 ห้อง และ[[เอเตรียม]] 1 ห้อง โครงร่างเป็น[[กระดูกอ่อน]]และเส้นใย และยังคงมี[[โนโตคอร์ด]]อยู่ เส้นประสาทหลัง มีการพัฒนาเป็นสมองซึ่งมีเส้นประสาทสมอง 8-10 คู่ ทางเดินอาหารไม่มี[[กระเพาะอาหาร]] ส่วนลำไส้บิดเป็นเกลียว มีลักษณะเพศแยกออกเป็น[[เพศผู้]]และ[[เพศ]]เมียชัดเจนแยก <ref>พิชยา ณรงค์พงศ์. 2555. มีนวิทยา. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร. 321 หน้า.</ref>
<br />
====แหล่งอาศัยของปลาแลมป์เพรย์====
ปลาแลมป์เพรย์พบได้ทั้ง[[ลำธาร]]ใน[[น้ำจืด]] และใน[[ทะเล]] พบกระจายพันธุ์อยู่ทั่วโลก ทั้ง[[ยุโรปเหนือ|ยุโรปตอนบน]], [[อเมริกาเหนือ]], [[อเมริกาใต้]], [[แอฟริกาตะวันตก]], [[ญี่ปุ่น]], [[เกาหลี]], [[ชิลี]], [[ออสเตรเลีย]] และ[[รัฐแทสเมเนีย|เกาะแทสมาเนีย]]
<br />
 
====กลุ่มของปลาแลมป์เพรย์====
ปลาแลมป์เพรย์สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 จำพวกใหญ่ ๆ คือ แบบธรรมดา จะอาศัยอยู่ตามลำธาร ช่วงชีวิตส่วนใหญ่จะเป็นระยะตัวอ่อนที่กินอาหารแบบกรอง ตัวเต็มวัยมีชิวิตอยู่ 3-4 [[สัปดาห์]] โดยไม่กินอาหารเนื่องจากทางเดินอาหารสลายตัว เหลือเพียงสายของเนื้อเยื้อที่ไม่มีหน้าที่การทำงานและจะตายไปหลังวางไข่ ปลาแลมป์เพรย์จำพวกนี้สามารถดำรงชีวิตได้เอง โดยการกินสัตว์อื่นเป็นอาหาร มี[[ความยาว]]โดยเฉลี่ยประมาณ 15-60 [[เซนติเมตร]] จะมีการวางไข่ที่ลำธารน้ำจืดที่มีพื้นเป็น[[ทราย]]และก้อน[[กรวด]]เล็ก ๆ ตามพื้นท้องน้ำและวางไข่ในฤดูตัวผู้จะเริ่มสร้างแอ่งวางไข่โดยใช้ปากคาบเอาหินและกรวดจากพื้นโดยการแกว่งลำตัวทำให้ก้อนกรวดกระจายออกไปเกิดเป็นแอ่งรูปไข่ ตัวเมียจะตามมาและเกาะกับหินเหนือแอ่ง ตัวผู้เกาะทางด้านหัวของตัวเมีย ตัวเมียปล่อยไข่ลงในแอ่ง ตัวผู้ปล่อย[[อสุจิ|น้ำเชื้อ]]ออกผสม [[ไข่]]ที่[[ปฏิสนธิ]]แล้วจะยึดเกาะกับก้อนกรวดในแอ่ง แล้วกลบด้วยทราย ลักษณะพิเศษคือ หลังวางไข่แล้วทั้งตัวผู้และเมียก็จะตายไป จากนั้น ไข่จะฟักออกในเวลา 2 [[สัปดาห์]] เป็นตัวอ่อนขนาดเล็กตัวยาว เรียกว่า แอมโมซีทิส (Ammocoetes) ซึ่งจะคงอยู่ในแอ่งจนตัวยาวประมาณ 1 เซนติเมตร ก็จะฝังตัวเข้าไปในทรายแล้วออกมาหากินในเวลา[[กลางคืน]] ระยะตัวอ่อนแอมโมซีทีสจะยาวนานประมาณ 3-7 ปี จึงจะเจริญเปลี่ยนรูปร่างเป็นตัวเต็มวัย ซึ่งตัวเต็มวัยจะคงอยู่ในน้ำจืดอีกประมาณ 1 ปี แล้วก็วางไข่ จากนั้นก็จะตายไป ส่วน[[สปีชีส์|ชนิด]]ที่เป็น[[ปลาทะเล]]ก็จะอพยพคืนถิ่นสู่ทะเล มีอายุยืนยาวกว่าชนิดที่เป็น[[ปลาน้ำจืด]] เมื่อเข้ามาวางไข่ในน้ำจืดจะไม่กินอาหาร
 
และ ปลาแลมป์เพรย์ที่เป็น[[ปรสิต]] จะมีปากคล้ายแว่นดูดและมีอุ้งปาก คล้ายถ้วยลึกลงไปในอุ้งปาก และลิ้นมีฟันที่เจริญดีอยู่ มันจะใช้ปากเกาะเหยื่อและใช้ฟันและลิ้นครูดเอาเนื้อออก และให้เลือดของเหยื่อไหลผ่านได้สะดวก ปลาแลมป์เพรย์จะสร้างสารป้องกันการตกตะกอนของเลือดส่งไปที่ปากแผล เมื่อดูดเลือดของเหยื่อจนตัวเหยื่อแห้งก็จะปล่อยแล้วหาเหยื่อใหม่ <ref>[http://www.school.net.th/library/webcontest2003/100team/dlnes141/t5/t5_4.html ปลาไม่มีขากรรไกร ( ( SuperClass Agnatha)]</ref>
<br />
 
===การจำแนก===
ได้มีการจำแนก[[ชั้น (ชีววิทยา)|ชั้น]], [[วงศ์ (ชีววิทยา)|วงศ์]], [[genus|สกุล]]และ[[สปีชีส์|ชนิด]]ของปลาแลมป์เพรย์ได้ออกเป็นดังนี้ ชั้น '''[[Cephalaspidomorphi]]'''.<ref>'''Cephalaspidomorpha''' ในบางแหล่งจะถือเป็นชั้นย่อยของ Cephalaspidomorphi.</ref><ref name = "Forey & Janvier">
เส้น 129 ⟶ 136:
 
ซึ่งในบาง[[ประเทศ]] เช่น [[เกาหลีใต้]]จะมี[[การทำอาหาร|การปรุง]]ปลาแลมป์เพรย์เป็น[[อาหารเกาหลี|อาหาร]]ด้วย<ref>[http://myths-made-real.blogspot.com/2010/10/they-actually-eat-that-lampreys.html "They Actually Eat That:" Lampreys. {{en}}]</ref>
<br />
 
 
===ความสัมพันธ์เชิงวิวัฒนาการของปลาแลมป์เพรย์และญาติ===
ปลาแลมป์เพรย์ มีบรรพบุรุษเป็นปลาไม่มีขากรรไกรซึ่งเป็นสัตว์มีกระดูกสันหลังที่โบราณที่สุดและมีอายุมากที่สุด คือ ออสตราโคเดิร์ม ซากดึกดำบรรพ์ที่ค้นพบครั้งแรกเป็นชิ้นส่วนของแผ่นกระดูกหุ้มตัว มีอายุประมาณ 540 ล้านปี ซึ่งสูญพันธุ์ไปแล้ว ปลาปัจจุบันที่มีชีวิตอยู่ซึ่งเป็นญาติกับแลมป์เพรย์ คือ แฮคฟิช <ref>พิชยา ณรงค์พงศ์. 2555. มีนวิทยา. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร. 321 หน้า.</ref> การศึกษาความสัมพันธ์เชิงวิวัฒนาการโดยใช้ข้อมูลทางพันธุกรรม 18S และ 28S rRNA พบว่า แลมป์เพรย์และแฮคฟิช เป็น monophyletic group กัน<ref>Kuraku, S., Hoshiyama, D., Katoh, K., Suga, H. and Miyata, T. 1999. Monophyly of Lampreys and Hagfishes Supported by Nuclear DNA–Coded Genes. Journal of Molecular Evolution. 49(6) : 729–735.</ref>
<br />
 
 
===การปรับตัวเชิงวิวัฒนาการของแลมเพรย์===
====การพัฒนาของปาก====
ปากของแลมป์เพรย์จะอยู่ค่อนมาทางด้านท้อง ลักษณะคล้ายแผ่นดูด เพื่อยึดเกาะตัวเหยื่อได้ดี และมีฟันเจริญดีอยู่ในอุ้งปากและบนลิ้น เพื่อใช้ในการครูดเอาเนื้อของเหยื่อออก ทำให้เลือดของเหยื่อไหลผ่านเข้าปากได้ตลอดเวลา<ref>พิชยา ณรงค์พงศ์. 2555. มีนวิทยา. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร. 321 หน้า.</ref>
<br />
====การมีสาร anticoagulant====
แลมป์เพรย์จะมีสาร anticoagulant ซึ่งจะป้องกันการตกตะกอนของเลือด ส่งไปที่ปากแผลของตัวเหยื่อ ทำให้เลือดของเหยื่อไหลตลอดเวลา แลมป์เพรย์จึงมีอาหารกินตลอดเวลา<ref>พิชยา ณรงค์พงศ์. 2555. มีนวิทยา. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร. 321 หน้า.</ref>
<br />
====การว่ายน้ำของแลมป์เพรย์====
แลมป์เพรย์ว่ายน้ำไม่เหมือนปลาที่รูปร่างคล้ายมัน เช่น ปลาไหล แต่จะว่ายไปพักไป โดยใช้ปากดูดในการยึดจับกับวัตถุหรือพื้น แล้วก็พุ่งไปข้างหน้าและพักต่อ การว่ายและพักนั้นเพื่อช่วยลดการสูญเสียพลังงานในตัวแลมป์เพรย์เอง<ref>พิชยา ณรงค์พงศ์. 2555. มีนวิทยา. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพมหานคร. 321 หน้า.</ref>
<br />
 
==ดูเพิ่ม==