ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธรรมบท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
สุขพินทุ (คุย | ส่วนร่วม)
centre←right
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{Expand language| langcode = en | otherarticle = Dhamma| lang = ภาษาอังกฤษ }}
'''ธรรมบท''' (Pāli; Prakrit: धम्मपद Dhamapada; Sanskrit: धर्मपद Dharmapada) คือ พุทธพจน์ในรูปบทกวี<ref><small>ฉันทลักษณ์ทั้งหมดโดยมากเป็น ปัฐยาวัตรฉันท์</small></ref> มีหัวข้อธรรมชั้นสำคัญรวบรวมเป็นหมวดหมู่ ธรรมบท หรือ ''ธมฺมปท'' เป็นเทศนาประเภทร้อยกรองของพระพุทธเจ้า ทรงแสดงแก่บุคคลตั้งแต่บรรพชิต คฤหัสถ์ นักปราชญ์ ตลอดชาวบ้านธรรมดา กระทั่งเด็กเล็ก ๆก็มีเนื้อหาการแสดงธรรมะ ธรรมบทมีทั้งหมด 423 คาถา แบ่งเป็น 26 วรรค นับเป็นหัวใจหรือสรุปคำสอนของพระพุทธเจ้า เป็นพระคัมภีร์บาลี คัมภีร์แรกที่ได้รับการแปลถ่ายทอดเป็นภาษาต่างประเทศมากที่สุด ธรรมบท ใช้เป็นหลักสูตรของพระสงฆ์ชั้นประโยค 3 - 6 ประโยค โดยเรียนควบคู่กับอรรถกถา ชื่อ ''" ธัมมปทัฏฐกถา "'' แต่งโดยพระพุทธโฆษาจารย์ เมื่อประมาณ พุทธศตวรรษที่ 10 ธรรมบท มีลักษณะพิเศษ <ref><small>[[:s:แปลความธรรมบทฉบับชาวบ้าน|ธรรมบท ได้รับการแปลเป็นสำนวนไทยมากหลายสำนวน รวมทั้งในพระไตรปิฎกภาษาไทยฉบับหลวง]]</small></ref> สอนให้คิดเปรียบเทียบเป็นอุปมาอุปไมยดัดแปลงให้เป็นประโยชน์ เมื่อฝึกฝนตามข้อคิดจะได้บรรลุอรหันต์ {{วิกิซอร์ซ|ธัมมปทัฏฐกถา|ธรรมบท}}
== หนังสือธรรมบท ==
หนังสือธรรมบทเป็นหนังสือที่รู้จักกันดี นิยมกันอย่างแพร่หลาย เริ่มมาจากภาษาบาลีในพระไตรปิฎก, ซึ่งเป็นคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ ชื่อขุทกนิกาย ธรรมบท เป็นคำสอนที่ครอบคลุมทุกหลักการ เป็นคัมภีร์ที่นักปราชญ์มุ่งหมายให้ผู้คนทุกชั้นแปล เพื่อจุดมุ่งหมายของตนทางจิตใจ การแปลพระคัมภีร์ เป็นการนำเสนอ สิ่งที่พระพุทธเจ้าสอน การแปลเป็นฉบับตัวอย่าง ดังเช่น ฉบับของท่านขันติปาโล ภิกขุ ชาวอังกฤษ พระนารทเถระ แห่งศรีลังกา และศาสตราจารย์พิเศษ เสฐียรพงษ์ วรรณปก ราชบัณฑิตไทย ก็อยู่ในทำเนียบผู้แปลที่สำคัญ ดังเป็นที่ทราบกันถึงประวัติ ว่าหนังสือธรรมบทเป็นบทร้อยกรองระดับคลาสสิคในวงวรรณกรรมทางศาสนา
บรรทัด 46:
----
{{รายการอ้างอิง}}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|dhammapada}}
{{โครงวรรณกรรม}}
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ธรรมบท"