ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาราชสถาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต ลบ: da (strong connection between (2) th:ภาษาราชสถาน and da:Rajasthani (sprog)),hi (strong connection between (2) th:ภาษาราชสถาน and [[hi:राजस्थानी भाष...
ป้ายระบุ: ลบลิงก์ข้ามภาษา
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{กล่องข้อมูล ภาษา
| name = ภาษาราชสถาน
เส้น 13 ⟶ 12:
'''ภาษาราชสถาน''' เป็นภาษาหลักของภาษากลุ่มอินโด-อารยัน มีผู้พูดราว 80 ล้านคน (มี 36 ล้านคนตามข้อมูล พ.ศ. 2544) ใน[[รัฐราชสถาน]]และรัฐอื่นๆของอินเดีย มีสำเนียงหลัก 8 สำเนียงคือ [[ภาษาพาครี|พาคริ]] [[ภาษาเสขวาตี|เสขวาตี]] [[ภาษาธุนธารี|ธุนธารี]] [[ภาษาฮารัวตี|ฮารัวตี]] [[ภาษามาร์วารี|มาร์วารี]] [[ภาษาเมวารี|เมวารี]] และ[[ภาษาวาคริ|วาคริ]] สำเนียงเหล่านี้ส่วนใหญ่ใช้พูดในราชสถาน แต่ก็มีพบใน [[คุชราต]] หรยณะ และ[[รัฐปัญจาบ]] [[ภาษามัลวี]]ที่อยู่ในกลุ่มราชสถาน มีผู้พูดในเขตมัลวาทางตะวันตกของรัฐมัธยประเทศ และ[[จังหวัดปัญจาบ]]และ[[จังหวัดสินธ์]]ใน[[ปากีสถาน]]
 
== ประวัติศาสตร์ ==
ในอดีต ภาษาที่ใช้พูดในรัฐราชสถานเคยถูกกำหนดให้เป็นสำเนียงหนึ่งของ[[ภาษาฮินดี]]ตะวันตก (Kellogg, 1873) George Abraham Grierson (1908) เป็นนักวิชาการคนแรกที่กำหนดให้ภาษาราชสถานเป็นภาษาเอกเทศ ที่มีหลายสำเนียง มีการสอนภาษาราชสถานในฐานะภาษาต่างหากตั้งแต่ พ.ศ. 2516 ปัจจุบันนี้ รัฐบาลของรัฐราชสถานกำหนดให้ภาษาราชสถานเป็นภาษาประจำรัฐ อย่างไรก็ตามภาษาราชสถานยังขาดแคลนตำราไวยากรณ์ที่สมบูรณ์และพจนานุกรมที่ทันสมัย
ภาษาที่เป็นบรรพบุรุษของภาษาราชสถานและ[[ภาษาคุชราต]]คือ[[ภาษาคุชราตโบราณ]] หรือภาษามรุ-คุรชาร์หรือภาษามรุวนี หรือภาษาคุชชาร์ ภขา เป็นภาษาที่ใช้พูดโดยชาวคุรชาร์ในรัฐคุชราตและราชสถาน เอกสารในยุคนี้แสดงลักษณะของภาษาคุชราต การปรับมาตรฐานของภาษาเกิดขึ้นเมื่อ 757 ปีก่อนพุทธศักราช นอกจากจะใช้คำว่าภาษาคุชราตโบราณแล้ว ยังมีผู้ใช้ว่าภาษาราชสถานตะวันตกโบราณ เนื่องจากในเวลานั้น ยังไม่มีการแบ่งแยกระหว่างภาษาราชสถานกับภาษาคุชราต ไวยากรณ์ของภาษาโบราณนี้ เขียนโดยนักบวชใน[[ศาสนาเชน]]
== การแพร่กระจายทางภูมิศาสตร์ ==
สำเนียงส่วนใหญ่ของภาษาคุชราต ใช้พูดในรัฐราชสถาน และมีบางส่วนใช้พูดใน[[รัฐคุชราต]] [[ปัญจาบ]]และ[[หรยณะ]] นอกจากนั้น ภาษาราชสถานยังใช้พูดในพหวัลปุรและมุลตาน ในจังหวัดปัญจาบของปากีสถาน และบางส่วนในจังหวัดสินธ์
== สถานะการเป็นภาษาราชการ ==
ในอดีต จัดให้ภาษาที่ใช้พูดในรัฐราชสถานเคยถูกกำหนดให้เป็นสำเนียงหนึ่งของ[[ภาษาฮินดี]]ตะวันตก (Kellogg, 1873) George Abraham Grierson (1908) เป็นนักวิชาการคนแรกที่กำหนดให้ใช้คำว่าภาษาราชสถานใน พ.ศ. 2451 ในปัจจุบัน ภาษาราชสถานถือเป็นภาษาเอกเทศ ที่มีหลายสำเนียงและมีการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัย โดยมีการสอนภาษาราชสถานในฐานะภาษาต่างหากตั้งแต่ พ.ศ. 2516 ปัจจุบันนี้ รัฐบาลของรัฐราชสถาน กำหนดให้ภาษาราชสถานเป็นภาษาประจำรัฐ อย่างไรก็ตามภาษาราชสถานแต่ยังขาดแคลนมีเส้นทางอีกยาวไกลในการยกระดับให้เป็นภาษาระดับชาติ มีพจนานุกรมและตำราไวยากรณ์ที่สมบูรณ์และพจนานุกรมที่ทันสมัยสำหรับภาษาราชสถาน
== ระบบการเขียน ==
ในอินเดีย ภาษาราชสถานเขียนด้วยอักษรเทวนาครี การใช้[[อักษรมุริยา]]ใช้เฉพาะในทางธุรกิจเท่านั้น ในปากีสถาน ภาษาราชสถานถือเป็นภาษาของชนส่วนน้อย<ref name="SIL International">{{Cite web|url = http://www.sil.org/asia/ldc/parallel_papers/tariq_rahman.pdf| title = Language policy, multilingualism and language vitality in Pakistan|publisher = [[Quaid-i-Azam University]] |accessdate = 2009–08–09}}</ref> และใช้ระบบการเขียนของ[[ภาษาสินธี]]ในการเขียนภาษาราชสถาน<ref name="Ethnologue-Gurgula">{{Cite web|url = http://www.ethnologue.com/15/show_language.asp?code=gig| title = Goaria|publisher = [[Ethnologue]]|accessdate = 2009–08–09}}</ref><ref name="Ethnologue-Dhatki">{{Cite web|url = http://www.ethnologue.com/15/show_language.asp?code=mki| title = Dhatki|publisher = [[Ethnologue]]|accessdate = 2009–08–09}}</ref>
== อ้างอิง ==
{{ต้องการรายการอ้างอิง}}
 
 
{{อินโด-อิหร่าน}}
[[หมวดหมู่:ภาษาราชสถาน| ]]
{{โครงภาษา}}