ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วัดพระธรรมกาย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 5104629 สร้างโดย Psomkiat (พูดคุย)
Sacred l008 (คุย | ส่วนร่วม)
update
บรรทัด 37:
'''วัดพระธรรมกาย''' เป็น[[วัด]]ใน[[ประเทศไทย]] ก่อตั้งเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2513 สังกัด[[มหานิกาย]]แห่ง[[คณะสงฆ์ไทย]] ตั้งอยู่ ณ [[ตำบลคลองสาม]] [[อำเภอคลองหลวง]] [[จังหวัดปทุมธานี]] ปัจจุบันมี[[พระเทพญาณมหามุนี (ไชยบูลย์ ธมฺมชโย)]] ดำรงตำแหน่งเป็น[[เจ้าอาวาส]]วัด
 
วัดพระธรรมกายเป็นที่เคลือบแคลงสงสัยของประชาชน และเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์ในสื่อมวลชนอย่างต่อเนื่อง แต่สื่อมวลชนจำนวนหนึ่งได้ขอขมาในภายหลัง<ref name = "สื่อโทษ">สื่อขอขมาต่อวัดพระธรรมกาย http://7meditation.blogspot.com/2012/08/blog-post_30.html</ref> อย่างไรก็ดี [[สภารักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ]]ได้ขึ้นวัดพระธรรมกายไว้ในบัญชีดำฐานเป็นภัยต่อความมั่นคงแห่งชาติ เพราะแต่ไม่พบว่า วัดพระธรรมกายดำเนินกิจการในทางมิชอบ<ref name = "เพี้ยนจุดเริ่มต้นที่ทำให้คนเข้าใจวัดผิดมาจนถึงทุกวันนี้...!!">{{cite web|title=ธรรมกายสุดเพี้ยน! ปลุกวิญญาณ 'สตีฟ จ็อบส์'|url=http://www.managerkalyanamitra.co.thorg/Dailyu-ni-boon/ViewNewsmain/index.aspxphp?NewsIDoption =9550000103042|publishercom_content&task =ผู้จัดการ|dateview&id=2555-08-22|accessdate141&Itemid=2555-08-22}}4</ref>
 
== ประวัติ ==
วัดนี้ได้ประกาศเป็นวัดโดย[[กระทรวงศึกษาธิการ]]ตามกฎหมาย เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2520 ในชื่อ "ศูนย์พุทธจักรปฏิบัติธรรม" และต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น "วัดวรณีธรรมกายาราม" ซึ่งมาจากชื่อของ [[วรณี สุนทรเวช]] ซึ่งเป็น บุตรสาวของ คุณหญิงแพทยพงษาวิสุทธาธิบดี (ประหยัด สุนทรเวช) ผู้บริจาคสถานที่ และต่อมาได้เปลี่ยนชื่ออีกครั้งเป็น "วัดพระธรรมกาย" จนถึงปัจจุบัน
 
 
อย่างไรก็ดี มีรายงานว่า ในการแสวงหาที่ดินมาก่อตั้งวัดพระธรรมกายนั้น ศิษย์วัดพระธรรมกายได้พากันใช้อาวุธปืนรุกรานขับไล่ชาวบ้านและโรงเรียนให้ออกจากที่ดินที่ต้องการด้วย แม้มีที่ดินเพียงพอต่อการปฏิบัติธรรมแล้วก็ตาม<ref name = "ครหา"/><ref name = "‎ รู้จักวัดพระธรรมกาย "> www.flipbooksoft.com/upload/books/10.../know_watdhammakaya.pdf</ref> แต่[[โกสินทร์ เกษทอง]] ผู้ช่วยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยซึ่งเป็นศิษย์วัดพระธรรมกาย ให้การสนับสนุนวัดว่า เรื่องดังกล่าวไม่เป็นความจริง<ref name="เรื่องชาวนา"> http://www.kalyanamitra.org/u-ni-boon/main/index.php?option=com_content&task=view&id=141&Itemid=4</ref>
 
วัดพระธรรมกายเป็นวัดในพระพุทธศาสนา ได้รับอนุญาตให้ตั้งเป็นวัดโดยสมบูรณ์ ได้รับพระราชทาน[[วิสุงคามสีมา]] เมื่อวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2522 ประกาศใน[[ราชกิจจานุเบกษา]] เล่มที่ 96 ตอนที่ 15 เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2522 โดยมีพระอธิการไชยบูลย์ ธมฺมชโย (ปัจจุบันเป็น [[พระเทพญาณมหามุนี (ไชยบูลย์ ธมฺมชโย)]]) เป็นเจ้าอาวาส และมี[[พระเผด็จ ทตฺตชีโว]] (ปัจจุบันเป็น[[พระภาวนาวิริยคุณ]]) เป็นรองเจ้าอาวาส
เส้น 60 ⟶ 61:
โดยพระธัมมชโยได้มีความตั้งใจว่า " จะเป็นรายการที่ทำให้ผู้ชมมีจิตใจผ่องใส ไม่เศร้าหมอง เพลิดเพลินกับธรรมะขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า จิตใจจะผูกพันอยู่กับพระรัตนตรัยและบุญกุศล" และ "มีรายการที่เหมาะกับคนทุกเพศทุกวัย เช่น รายการโรงเรียนอนุบาลฝันในฝันวิทยา, นานาเทศนา, พุทธประวัติ, ชาดก 500 ชาติ, New News, ข่าว DNN ข่าว DMC News, ไปวัดไปวา, ปฏิบัติการกุ๊กกิ๊ก, พลังมด ฯลฯ" <ref name="DMC">[http://www.dhammakaya.net/dhamma-media-channel-dmc], Dhamma Media Channel (DMC) </ref>
 
ในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2555 รายการปรโลกนิวส์ยังได้ถ่ายทอดบทบรรยายโดยพระธัมมชโยเกี่ยวกับชีวิตหลังความตายและอดีตชาติของ[[สตีฟ จอบส์]] ซึ่งได้กล่าวไว้ว่าหลังจากได้เสียชีวิตแล้ว ตัวเขาก็ได้ไปบังเกิดใหม่เป็น "เทพบุตรภุมมเทวาระดับกลางสายวิทยาธรกึ่งยักษ์"<ref>[ปรโลกนิวส์ ตอน สตีฟ จ็อบส์ ตายแล้วไปไหน (dmcตอนที่ 1 – ธรรมกาย, http://www.tvyoutube.com/watch?v=CqMM2Wvi_uU สตีฟ จ็อบส์ (Steve Jobs) ตายแล้วไปไหน 02 - YouTube]</ref> <ref name="blognone">[http://www.blognone.com/node/35193 ธรรมกายเสนอสารคดี "สตีฟ จ็อบส์ตายแล้วไปไหน"], [http://www.blognone.com/node/35247 ข่าวธรรมกาย-สตีฟ จ็อบส์ ถูกพูดถึงในรายการ "เรื่องเล่าเช้านี้"], [http://www.blognone.com/node/35287 คำชี้แจงจากวัดธรรมกายเรื่องสตีฟ จ็อบส์ (ครั้งที่สอง)] จาก[[บล็อกนัน]]</ref>
 
== สถาปัตยกรรมในวัดพระธรรมกาย ==
* '''มหาธรรมกายเจดีย์''' เจดีย์รูปโดมทรงกลมแบบ[[สาญจิเจดีย์]] ประกอบด้วย 3 ส่วน ซึ่งสื่อถึง พุทธรัตนะ ธรรมรัตนะ และสังฆรัตนะ ภายนอกของมหาธรรมกายเจดีย์ส่วนพุทธรัตนะมีการเรียงต่อองค์พระธรรมกายประจำตัวที่สลักชื่อเจ้าของไว้จำนวน 300,000 องค์ ส่วนภายในมหาธรรมกายเจดีย์บรรจุพระธรรมกายประจำตัว จำนวน 700,000 องค์ฐานขององค์พระจารึกนามของผู้บริจาคเพื่อสร้างองค์พระธรรมกายประจำตัวเช่นเดียวกัน ซึ่งมหาธรรมกายเจดีย์ออกแบบด้วยหลักวิศวกรรมให้คงอยู่ได้ไม่ต่ำกว่าหนึ่งพันปี <ref>[http://www.geocities.com/CapitolHill/Lobby/6741/sam801.htm เกี่ยวกับมหาธรรมกายเจดีย์]</ref> และเป็นสถานที่ประกอบศาสนพิธีกลางแจ้ง ในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาจะมีสาธุชนจากทั่วโลกเดินทางมาร่วมบุญหลาย แสนคน และในทุกวัน เวลา 18.00 น. มีพิธีบูชามหาธรรมกายเจดีย์ <ref name="ประวัติกัลยาณมิตรวัดพระธรรมกาย">[http://www.kalyanamitra.org/etc/index_etc2. html ประวัติวัดพระธรรมกาย] เว็บกัลยาณมิตร</ref> สาเหตุที่มหาธรรมกายเจดีย์มีรูปทรงที่ไม่เหมือนกับเจดีย์ทั่วไป ทั้งนี้การบอกเล่าของพระสงฆ์ และหมู่คณะวัดพระธรรมกายคือ มหาธรรมกายเจดีย์ เป็นรูปทรงของ "อายตนนิพพาน" (''อา-ยะ-ตะ-นะ-'') ที่ค้นพบด้วยธรรมปฏิบัติชั้นสูงด้วยวิชชาธรรมกาย ส่วนลักษณะขององค์พระธรรมกาย ได้ถอดแบบจาก[[กายมหาบุรุษ]] ที่ได้เห็นแจ้งด้วยธรรมปฏิบัติชั้นสูงตามแนววิชชาธรรมกายเช่นกัน โดยมีมูลค่าประมาณ 20,000-70,000 ล้านบาท <ref name= "สมถะวิปัสสนาตามแนววิชชาธรรมกาย”> [http://www.watnyanavesgotoknow.netorg/uploadsposts/File215629], [http:/books/pdfwww.kalyanamitra.org/the_dhammakaya_case_lesson_learned_for_buddhist_education_and_society_development_(expanded_and_revised)merit/6/doctor.pdf กรณีธรรมกายhtml=เตือนให้คิด..จากนิติจิตแพทย์] </ref>
* '''มหารัตนวิหารคด''' อาคารสองชั้นในรูปแบบคล้ายสเตเดียม ความยาวด้านละ 1 กิโลเมตร รอบมหาธรรมกายเจดีย์ ทั้งสี่ด้านคาดว่าสามารถจุคนได้หนึ่งล้านคน <ref>[http://www.dhammakaya.or.th/visitorzone/detail_page_02_th.php มหารัตนวิหารคด มหาบุญสถาน เพื่อการปฏิบัติธรรม]</ref>เป็นสถานที่รวมพุทธบุตรและพุทธบริษัท 4 ทั่วโลกนับล้านให้เป็นหนึ่งเดียวกัน เพื่อพบปะสนทนาธรรมและร่วมกันสร้างสันติสุข ให้บังเกิดขึ้นบนโลกของเรา <ref name="ประวัติกัลยาณมิตร" />
* '''มหาวิหารพระมงคลเทพมุนี ''' อาคารรูปทรงกลมแบบสาญจิเจดีย์คล้ายจานคว่ำเหมือนมหาธรรมกายเจดีย์ เป็นที่ประดิษฐานรูปหล่อทองคำ[[พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร)]] หลวงพ่อวัดปากน้ำภาษีเจริญ เพื่อสักการบูชาและระลึกถึงพระคุณของท่าน ภายในมหาวิหารพระมงคลเทพมุนี บรรจุเรื่องราวอัตชีวประวัติของท่าน เพื่อให้สาธุชนรุ่นหลังได้ศึกษาค้นคว้า
เส้น 79 ⟶ 80:
วัดพระธรรมกายมีผู้ศรัทธาจำนวนหนึ่ง แต่ก็เป็นที่แคลงใจของประชาชนทั้งยังเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์ของสื่อมวลชนอย่างต่อเนื่อง แม้สื่อมวลชนจำนวนหนึ่งขอขมาแล้วก็ตาม<ref name = "สื่อโทษ"/> เป็นต้นว่า
 
* '''การแสวงหาประโยชน์เชิงพาณิชย์''' จากวิกฤตเศรษฐกิจในปี 2541 ที่เกิดขึ้นในประเทศไทย วัดพระธรรมกายได้เป็นจุดสนใจจากชนหลายฝ่าย เป็นเหตุให้มีการจัดเสวนาขึ้นในหัวข้อ "กรณีธรรมกาย ข้อเท็จจริงกับการปฏิรูปสถาบันสงฆ์" จัดโดยสถาบันปรีดีพนมยงค์ 26 ธค.41 จากการเสวนานี้ ทำให้เป็นที่วิพากวิจารณ์ในหลายวงการ ทั้งจากวงของสงฆ์ และจากประชาชนหลายฝ่าย ทั้งนี้ สาเหตุจากสถานการณ์ของประเทศชาติดังกล่าว<ref name = "ครหา">{{cite web | publisher = กรุงเทพธุรกิจ | url = http://rabob.tripod.com/bkk5.html | date = 2541-12-26 | accessdate = 2556-03-13 | title = หวั่นลัทธิใหม่ เร่งรัฐปฏิรูป 'สถาบันสงฆ์'}}</ref> จากแรงศรัทธาของกลุ่มสาธุชนตั้งแต่เริ่มสร้างวัด ที่ได้มาสัมผัสความสุขจากการปฏิบัติธรรม ความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของวัด เป็นที่จูงใจให้มีผู้คนหลั่งไหลมาล้นหลามโดยตลอด ด้วยเหตุที่วัดมีสถานที่ที่ร่มที่จะบังแดดบังฝนไม่พอ จึงได้มีการก่อสร้างเพิ่มขึ้น เพื่อให้เพียงพอต่อการรองรับสาธุชนที่จะมาในอนาคต จากการขยายตัวของงานต่างๆ จำต้องมีปัจจัยเกื้อหนุน ซึ่งย่อมเกิดขึ้นได้จากแรงศรัทธาของกลุ่มสาธุชนเอง และด้วยความเข้าใจที่ประชาชนมีต่อวัดเท่านั้น<ref name = "วิวัฒนาการของวัดพระธรรมกาย">[http:// book. dou.us/doku.php?id =df303:6] </ref> รวมถึงต่างมีเป้าหมายในทางเดียวกันที่จะเผยแผ่พระพุทธศาสนาไปทั่วโลก เพื่อสร้างสันติภาพที่เกิดจากสันติสุขภายใน “World Peace Through Innen Peace” ในการอยู่ร่วมกัน ทุกอย่างเป็นการทำเพื่อส่วนรวม วัดจึงได้มีการก่อสร้างศาสนสถานต่างๆ เพื่อให้เพียงพอต่อการรองรับสาธุชนที่จะมาในอนาคต สิ่งก่อสร้างต่างๆ ที่เกิดขึ้นแล้วนั้น ทุกวันนี้ได้รับการใช้งานมาโดยตลอด ทั้งจากทางด้านของศาสนาและศีลธรรม จากหน่วยงานต่างๆ ทั้งของภาครัฐและเอกชน ทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ ด้านสังคมสงเคราะห์ ได้เป็นที่รวมความช่วยเหลือเพื่อกอบกู้สถานการณ์อุทกภัยน้ำท่วมครั้งใหญ่ในประเทศไทยปี พ.ศ. 2554 ที่ผ่านมาเป็นต้น <ref name = "รวมใจ ต้านภัยน้ำท่วม”>[http:// www.bloggang.com/ viewdiary.php?id=bestwishes&month=10-2011&date | title = สื่อต่างประเทศแพร่ภาพพุทธบุตรวัดธรรมกาย],[http://www.kalyanamitra.org/ 2554/uniboon_detail.php?page=1174(edition 109 =11-2011) | title = ชาวคลองหลวง และชาววัดพระธรรมกาย ร่วมใจป้องกันภัยน้ำท่วม]</ref> แม้วัดจะถูกโจมตีมาโดยตลอด การเติบโตของวัดก็ได้เจริญเติบโตตามแรงศรัทธาของสาธุชนดังกล่าว จึงเป็นที่จับตาดูของสื่อต่างๆ ที่จะเก็บเป็นประเด็นวิพากวิจารณ์ในแง่คิดและแง่ลบ เพียงเพื่อเป็นข่าวที่สร้างความสนใจที่จะมีผลผลิตให้กับธุรกิจด้านนี้ โดยขาดคุณธรรมเป็นพื้นฐาน ในทางกลับกันก็กลายเป็นการบั่นทอนพระพุทธศาสนาให้เสื่อมลง ผลตกอยู่กับผู้เสพข่าวที่ขาดความรู้ความเข้าใจจริงในคำสอนของพระพุทธเจ้า หรือที่มีความรู้จากภาคทฤษฎี แต่ขาดความรู้ทางภาคปฏิบัติ ยังผลให้หมดโอกาสที่จะรับรู้ความเป็นจริงนั้นว่าเป็นอย่างไร
* '''การแสวงหาประโยชน์เชิงพาณิชย์''' กรณีที่วัดพระธรรมกายนำเงินบริจาคไปลงทุนเพื่อแสวงหาประโยชน์เชิงพาณิชย์ โดยอ้างว่าเพื่อให้เงินเกิดดอกออกผลติดตามมานั้น ถูกวิจารณ์อย่างกว้างขวาง เช่น ทวีวัฒน์ ปุณฑริกวิวัฒน์ อาจารย์คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ผู้ทำวิจัยเรื่องวัดพระธรรมกาย ได้แสดงความเห็นว่า "พระสงฆ์ต้องพอใจจากปัจจัยที่ผู้คนบริจาคให้ การนำไปลงทุนเพื่อเอากำไรอาจทำให้จิตใจเฉไฉไปทางอื่นได้"<ref name = "ครหา">{{cite web | publisher = กรุงเทพธุรกิจ | url = http://rabob.tripod.com/bkk5.html | date = 2541-12-26 | accessdate = 2556-03-13 | title = หวั่นลัทธิใหม่ เร่งรัฐปฏิรูป 'สถาบันสงฆ์'}}</ref>
* '''การยักยอกทรัพย์''' กรณีที่วัดธรรมกายถูก[[พระเทพญาณมหามุนี (ไชยบูลย์ ธมฺมชโย)|พระธัมมชโย]] เจ้าอาวาส ยักยอกทรัพย์ โดยปรากฏว่าโฉนดที่ดินมากมายของวัดมีชื่อพระธัมมชโยเป็นเจ้าของ เรื่องนี้ถูกนำเข้า[[มหาเถรสมาคม]]และเกิดเป็นคดีอาญาในเวลาต่อมา การไต่สวนดำเนินมาเจ็ดปี แต่สุดท้ายอัยการสูงสุดได้มีมติให้ถอนฟ้อง เนื่องจากพระธัมมชโยได้คืนที่ดินให้แก่วัดธรรมกายแล้ว<ref name="อสส.สั่งถอนฟ้อง”ธัมมชโย”ยักยอกทรัพย์">{{cite web|url=[http://wwwnews.managersanook.co.thcom/Politicscrime/ViewNewscrime_19034.aspx?NewsID{{=}}9530000066922php |title=ย้อนคดี ธัมมชโยpublisher ยักยอกทรัพย์วัดพระธรรมกาย อัยการตัดตอนถอนฟ้อง|author=ManagerITV Online| date =25532549-058-15|publisher=Manager22]</ref> <ref name Online|accessdate=2556 "สื่อโทษ">สื่อขอขมาต่อวัดพระธรรมกาย http://7meditation.blogspot.com/2012/08/blog-03-23}}post_30.html</ref>
* '''การโฆษณาชวนเชื่อ'''กรณีที่วัดพระธรรมกายเผยแพร่ความเชื่อที่เกี่ยวกับพระพุทธศาสนา ไม่ว่าจะโดยวิธีใด หรือการเชิญชวนให้สาธุชนมาร่วมสร้างบุญในลักษณะไหนก็ตาม แม้ว่ากิจกรรมบุญเหล่านั้นจะเป็นการเชิญชวนให้ชาวพุทธได้หันกลับมาดูแลเอาใจใส่วัดใกล้บ้าน เพื่อแก้ปัญหาวัดร้าง ก็จะเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์กันทันทีในทุกแวดวง<ref name = "ครหา"/>โดยเฉพาะในยุคสมัยของเทคโนโลยี่นี้ ที่ใช้ระบบ social Net work เป็นสื่อแสดงความเห็นของผู้ใช้ จะแสดงเจตนาดี หรือซ่อนเร้นเจตนาบางอย่างอยู่เบื้องหลังก็ตาม ยากต่อการหาความจริงได้ทันที ผู้บริโภคสื่อซึ่งส่วนใหญ่ยังไม่เคยเห็นและยังไม่รู้จักวัด หรือประชากรส่วนหนึ่งที่เป็นพุทธแต่ในนาม ขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องของพระพุทธศาสนา ก็แสดงปฏิกิริยาเชิงต่อต้านก่อนหาความจริง ซึ่งเป็นลักษณะของสังคมนี้<ref name = "วิเคราะห์ลักษณะอุปนิสัยคนไทยที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศ โดยรองศาสตราจารย์ วิรัช วิรัชนิภาวรรณ">[http://www.pattanakit.net/index.php?lay=show&ac= article&Ntype=53]</ref> แต่วัตถุประสงค์ของวัดพระธรรมกาย ก็ไม่ได้เปลี่ยนไปจากเดิมนับแต่เริ่มสร้างวัดมากว่า 40 ปีแล้ว<ref name = "วิวัฒนาการของวัดพระธรรมกาย">[http://book.dou.us/doku.php?id=df303:6]</ref> ยังคงดำเนินการตามวัตถุประสงค์อย่างถูกต้องตามกฎหมายและตามข้อบัญญัติของมหาเถรสมาคมมาโดยตลอด
* '''การโฆษณาชวนเชื่อ''' กรณีที่วัดพระธรรมกายเผยแพร่ความเชื่อโดยอาศัยวิธีทางการตลาด มีการโฆษณาชวนเชื่อ ชักชวนผู้คนให้เข้ามาบวชเป็นศิษย์มาก ๆ และสร้างวัตถุใหญ่โต พร้อมคำสอนสั่งว่า "ผู้ที่ร่ำรวยในชาตินี้เพราะในอดีตทำบุญมาก ผู้ที่ยากจนเพราะไม่ได้ทำบุญ" นั้น ก็ถูกวิพากษ์วิจารณ์เช่นกัน โดยรองศาสตราจารย์ ดอกเตอร์ พระสุธีวรญาณ (ณรงค์ จิตฺตโสภโณ) รองอธิการบดีมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย ระบุว่า แม้การเผยแผ่พุทธศาสนาใช้ระบบขายตรงมาแต่ดั้งเดิม แต่วัตถุประสงค์ต่างจากของวัดพระธรรมกาย เพราะพระพุทธเจ้าทรงมุ่งทำให้กิเลสของผู้คนน้อยลง เป็นการติดอาวุธทางปัญญา มิใช่มุ่งติดอาวุธทางการเงิน<ref name = "ครหา"/>
* '''การธุดงค์ในเมือง''' กรณีที่วัดพระธรรมกายจัดให้พระสงฆ์ซึ่งเป็นสมาชิกของวัดออกเดินธุดงค์ในเมือง เรียกว่า "ธุดงค์ธรรมชัย" โดยให้นำเครื่องลาดมาปูรองที่เดิน โปรยบุปผชาติบนเครื่องลาด และจัดให้ประชาชนซึ่งเป็นสาวกมาเฝ้าแห่แหนริมเครื่องลาด ทั้งมีขบวนแห่อย่างวิจิตรอลังการมาตั้งแต่เดือนธันวาคม 2554<ref>{{cite web | title = บทวิเคราะห์ธรรมกาย กฎหมายหมิ่นศาสนา และอำนาจศักดิ์สิทธิ์ที่ซ้อนรัฐ | author = ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์ | publisher = ประชาไท | url = http://prachatai.com/journal/2012/04/39991 | date = 2555-04-06 | accessdate = 2556-07-08}}</ref> นั้น ก่อปัญหาการจราจรในเมือง และถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวาง<ref name = "บุกกรุง">{{cite web|title=ขบวนภิกษุธรรมกายบุกกรุง! สาวกแห่โปรย “ดาวรวย” รับ “พงศ์เทพ” ยักไหล่ใช้ ร.ร.ปักกลด|url=http://www.manager.co.th/politics/viewnews.aspx?NewsID=9560000010355|publisher=ผู้จัดการ|date=2556-01-25|accessdate=2556-07-08}}</ref><ref name = "หลายฝ่ายฉะ">{{cite web|title=หลายฝ่ายฉะ “ธุดงค์กลางเมือง” ไม่เหมาะสม “ธรรมกาย” อ้างไม่ผิดหลักศาสนา|url=http://www.manager.co.th/Home/ViewNews.aspx?NewsID=9550000042667|publisher=ผู้จัดการ|date=2555-04-04|accessdate=2556-07-08}}</ref><ref>{{cite web|title=ธุดงค์นะจ๊ะ... ธรรมเกินนะฮะ!|url=http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9550000042941|publisher=ผู้จัดการ|date=2555-04-05|accessdate=2556-07-08}}</ref> เป็นต้นว่า
** พระสุวิทย์ ธีรธมฺโม หรือเป็นที่รู้จักในชื่อ [[หลวงปู่พุทธะอิสระ]] วิจารณ์ว่า "การจะทำกิจกรรมอะไรก็ตาม หากทำแล้วเบียดเบียนตน ทำให้คนอื่นเดือดร้อน ก็ถือว่า ผิดหลักพุทธศาสนา...พุทธศาสนิกชนต้องต่อต้าน...ไม่น่าจะเป็นการเผยแพร่ธรรม น่าจะเป็นการทำร้ายพระธรรมมากกว่า รวมทั้งทำให้พระธรรมของพระผู้มีพระภาคเจ้ามัวหมอง การเดินธุดงค์บนดอกกุหลาบดอกดาวเรือง ไม่ไช่วิธีของพระภิกษุที่สันโดษ...นอกจากพระเดินธุดงค์แล้ว นักเรียนและประชาชนยังถูกเกณฑ์ให้ไปตากแดดรับคณะ ไม่ได้ไปเพราะศรัทธา แต่ไปเพราะโดนเกณฑ์ไป ศรัทธาที่เกิดจากการแสดงเป็นศรัทธาที่หลอกลวง ไม่ใช่ศรัทธาที่บริสุทธิ์...เรื่องนี้มหาเถรสมาคมทำอะไรอยู่ สำนักพระพุทธศาสนาแห่งชาติทำอะไรอยู่"<ref>{{cite web|title=“หลวงปู่พุทธะอิสระ” ติงธรรมกายเดินธุดงค์ทำคนเดือดร้อน ผิดหลักศาสนา|url=http://www.manager.co.th/home/viewnews.aspx?NewsID=9560000011576|publisher=ผู้จัดการ|date=2556-01-29|accessdate=2556-07-08}}</ref>