ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อะไมโลเพกทิน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pornthita Kraiwetch (คุย | ส่วนร่วม)
หน้าใหม่: '''อะไมโลเพกทิน (amylopectin''') คือ พอลิแซ็กคาไรด์ (polysaccharide) ประเภทฮอโม...
 
Pornthita Kraiwetch (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''อะไมโลเพกทิน (amylopectin''') คือ พอลิแซ็กคาไรด์ (polysaccharide) ประเภทฮอโมพอลิแซ็กคาไรด์ (homopolysaccharide) ซึ่งเป็นส่วนประกอบส่วน<br />
ประกอบของเม็ดสตาร์ซ (starchgranule) เป็นพอลิเมอร์ของน้ำตาลกลูโคส (glucose) ที่จัดเรียงตัวเป็นสายตรงและสายแขนง โดยพันธะไกลโคไซด์ <br />
(glycosidic bond) สองแบบ คือส่วนที่เป็นพันธะสายตรง เป็นพันธะ ชนิดแอลฟา-1-4 เหมือนกับอะไมโลส (amylose) และส่วนที่เป็นสายแขนงจะเชื่อมต่อด้วย<br />
พันธะแอลฟา-1- 6
 
{| class="wikitable"
'''Amylose'''
|-
 
! '''Amylose'''!! '''Amylopectin'''
Glucose มาต่อกันเป็นสายตรง
|-
glycosidic bond แบบalpha [1,4] อย่างเดียว
| Glucose มาต่อกันเป็นสายตรง || Glucose มาต่อกันเป็นสายตรงและสายแขนง
ทำปฏิกิริยากับไอโอดีนให้สีน้ำเงิน
|-
เมื่อต้มสุกมีลักษณะขาวขุ่น เป็นเจล ที่แข็งแรง เกิดรีโทเกรเดชัน (retrogradation) ได้ง่าย
| glycosidic bond แบบalpha [1,4] อย่างเดียว || glycosidic bond แบบ alpha [1,4] และ alpha [1,6]
แป้งที่มี amylose สูงได้แก่ ข้าวเจ้า ข้าวโพด
|-
| ทำปฏิกิริยากับไอโอดีนให้สีน้ำเงิน || ทำปฏิกิริยากับไอโอดีนให้สีม่วงแดง
'''Amylopectin'''
|-
| เมื่อต้มสุกมีลักษณะขาวขุ่น เป็นเจล ที่แข็งแรง เกิดรีโทเกรเดชัน (retrogradation) ได้ง่าย || เมื่อต้มสุกมีลักษณะใส เหนียว
Glucose มาต่อกันเป็นสายตรงและสายแขนง
|-
glycosidic bond แบบ alpha [1,4] และ alpha [1,6]
| แป้งที่มี amylose สูงได้แก่ ข้าวเจ้า ข้าวโพด || แป้งที่มี amylopectin สูง ได้แก่ ข้าวเหนียวข้าวโพด
ทำปฏิกิริยากับไอโอดีนให้สีม่วงแดง
|}
เมื่อต้มสุกมีลักษณะใส เหนียว
เจลอ่อน เกิดรีโทเกรเดชัน (retrogradation) ได้ยาก
แป้งที่มี amylopectin สูง ได้แก่ ข้าวเหนียวข้าวโพด