ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศิลปะไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนเนื้อหาอาจละเมิดลิขสิทธิ์ หรือไม่เป็นสารานุกรม ไม่ใช่? แจ้งที่นี่
บรรทัด 23:
ภาพลายไทย เป็นลายที่ประดิษฐ์ขึ้นโดยมีธรรมชาติมาเป็นแรงดลบันดาลใจ โดยดัดแปลงธรรมชาติให้เป็นลวดลายใหม่อย่างสวยงาม เช่น ตาอ้อย ก้ามปู เปลวไฟ รวงข้าว และดอกบัว ฯลฯ ลายไทยเดิมทีเดียวเรียกกันว่า "กระหนก" หมายถึงลวดลาย เช่น กระหนกลาย กระหนกก้านขด ต่อมามีคำใช้ว่า "กนก" หมายถึง ทอง กนกปิดทอง กนกตู้ลายทอง แต่จะมีใช้เมื่อใดยังไม่มีหลักฐานแน่ชัด ซึ่งคำเดิม "กระหนก" นี้เข้าใจเป็นคำแต่สมัยโบราณที่มีมาตั้งแต่สมัยทวาราวดี โดยเรียกติดต่อกันจนเป็นคำเฉพาะ หมายถึงลวดลายก้านขด ลายก้านปู ลายก้างปลา ลายกระหนกเปลว เป็นต้น
การเขียนลายไทย ได้จัดแบ่งตามลักษณะที่จัดเป็นแม่บทใช้ในการเขียนภาพมี 4 ลาย ด้วยกัน คือลายกระหนก ลายนารี ลายกระบี่และลายคชะ เป็นต้น
'''ลายกำมะลอ'''<br />
การเขียนลายกำมะลอ เป็นงานเขียนวาดเส้น และ ระบายทำเป็นลวดลาย หรือ รูปภาพด้วยวิธีการอย่างโบราณ วิธีหนึ่งที่เขียนเป็นลวดลาย และ เขียนเป็นรูปภาพต่างๆ เขียนระบายด้วยสีหม่นๆ บนพื้น ซึ่งทาด้วยยางรักเป็นสีดำสนิท แสดงเส้นล้อมเป็นขอบรูปภาพ หรือ ลวดลายด้วยเส้นสีทองสดใส เพิ่มความชัดเจน และ น่าสนใจชมขึ้นบนพื้นสีดำ
“กำมะลอ” คือ ของที่ทำเทียม มีลักษณะไม่คงทน
“กำมะลอ”สำหรับช่างเขียนไทย คือ “งานเขียนสีผสมน้ำรัก”
ช่างไทยโบราณถือว่า งาน “ลายกำมะลอ” เกิดจากการนำลาย มาวาดผูกกันให้เกิดเป็นรูปภาพ ดังนั้นคำว่า “ลายกำมะลอ” จึงหมายถึง “ภาพเขียนผูกขึ้น ด้วยลายระบายด้วยสีกำมะลอ
ที่มาของลายกำมะลอ
ประเทศจีนเป็นต้นกำเนิดของลายกำมะลอ ชาวจีนใช้ลายกำมะลอเขียนตกแต่งเครื่องเรือนชนิดต่างๆเช่น ลับแล ฝาตู้ ฉากพับ เป็นต้น ส่วนในประเทศไทยลายกำมะลอปรากฏขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย โดยสันนิษฐานว่าพ่อค้าชาวจีนนำเข้ามาโดยบรรทุกเครื่องเรือนมากับเรือสำเภาเข้ามาค้าขายในกรุงศรีอยุธยา คนไทยได้พบเห็นลายกำมะลอ เกิดความพึงพอใจ แต่ไม่สามารถเขียนขึ้นได้เพราะไม่รู้วิธีผสมสีผสมน้ำยา ต่อมาช่างไม้ชาวจีนเข้ามาตั้งรับจ้างต่อเครื่องเรือนขายในกรุงศรีอยุธยา ช่างจีนพวกนี้ได้เขียนลวดลายกำมะลอ คนไทยผ่านมาพบเห็นจึงจดจำและนำไปทำตาม จึงได้มีการเขียนลายกำมะลอที่งดงาม ตกแต่งประดับอยู่ตามฝาตู้ ฝาหีบเป็นจำนวนมากในสมัยอยุธยาตอนปลาย
ลักษณะของลายกำมะลอ
การระบายสีในลายกำมะลอ เป็นการระบายสีโดย ใช้สีฝุ่นต่าง ๆ ผสมยางรัก ยางรักมีคุณสมบัติยึดสีให้จับติดกับพื้นที่ทาไว้ด้วย ยางรักมีสีดำ สีฝุ่นที่ใช้เมื่อผสมกับยางรักสีดำก็กลายเป็นสีที่หม่นทุกสี สีผสมยางรักนี้เมื่อนำมาเขียนระบายเป็นรูปภาพขึ้นบนพื้นที่ทายาง รักสีดำขึ้นไว้แต่แรกก็จะเป็นรูปภาพ ช่วยให้เด่นเห็นชัดเจนขึ้น ลายกำมะลอที่เขียนขึ้นจะมีเอกลักษณ์เฉพาะเด่นชัดคือ พื้นสีดำ ลวดลายหรือรูปภาพมีสีสันต่าง ๆที่หม่น ส่วนที่เห็นชัดขึ้นมาจากพื้นที่เป็นสีหม่น คือสีทองของเส้นที่แสดงรายละเอียดต่าง ๆ ของลวดลายหรือรูปภาพ ลายกำมะลอ เป็นงานตกแต่งซึ่งทำขึ้นบนบานประตู บานหน้าต่าง ฝาตู้ ฝาหีบ ฉาก ลับแล หน้าใบ ประกับคัมภีร์ แผงข้าง เป็นต้น
วิธีการเขียนลายกำมะลอ
1.ร่างแบบ ในงานร่างภาพ หรือ ลวดลาย ขึ้นเป็นแบบลงบนพื้นที่ได้ทารักรองพื้นไว้ เพื่อจะระบายสีลงเป็นรูปภาพ หรือ ลวดลายต่อไปนั้น ได้แก่
1.1 ใช้ดินสอขาวเหลา มีปลายเรียวแหลมเขียนเส้น ร่างลงบนพื้นที่รัก แต่พอเป็นเค้ารอยรูปภาพ หรือ ลวดลายตามที่คิดจะให้เป็น เรียกว่า “กระทบเส้น”วิธีนี้ใช้สำหรับช่างเขียนที่ฝีมือดี
1.2 ร่างแบบลงบนกระดาษ ขนาดเท่ากับพื้นที่ได้ทำเตรียมขึ้นไว้ แล้วทำเป็นแบบโรยด้วยวิธีเดียว กันกับการทำแบบโรย วิธีนี้ใช้สำหรับช่างเขียนที่ฝีมืออ่อน
2.การระบายสี ใช้สีระบายรูปภาพเล็กน้อยไม่นิยมไล่น้ำหนักสี
3.การเขียน ลงเส้นทอง ที่เป็นรายละเอียดในรูปภาพ ลวดลายให้เป็นรูปภาพ รูปลักษณ์ให้มีความชัดเจน ได้แก่ การเขียนลงเส้นโรยฝุ่นทอง และการเขียนลงเส้นปิดทองคำเปลว
งานประณีตศิลป์ประเภทลายกำมะลอขาดตอนลงไประหว่างสมัยที่เสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 จนกระทั่งมาถึงสมัยรัชกาลที่ 3 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระราชดำริให้ฟื้นฟูขึ้นมา ดังจะได้พรรณนาต่อไปข้างหน้า
งานเขียนลายกำมะลอ ที่ได้ทำขึ้นใหม่ในสมัยรัชกาลที่ 3 มีทั้งงานขนาดย่อมและงานขนาดใหญ่ ซึ่งส่วนมากเป็นประณีตศิลป์ที่ทำขึ้นเพื่อเป็นพุทธบูชา
งานเขียนลายกำมะลอขนาดย่อม ได้แก่ประเภทไม้ประกับหน้าผูกคัมภีร์ หีบไม้ใส่สมุดพระมาลัย เป็นต้น
งานเขียนลายกำมะลอมีในงานขนาดใหญ่ แสดงให้เห็นความสำคัญและคุณค่ามาก คืองานเขียนลายกำมะลอบนบานประตูและบานหน้าต่างของโบสถ์ และวิหารในวัดสำคัญตัวอย่างเช่น ลายกำมะลอบนบานประตู และบานหน้าต่าง พระวิหารและศาลาการเปรียญวัดเฉลิมพระเกียรติที่จังหวัดนนทบุรี กระบวนการ
เขียนที่นี่มีลักษณะพิเศษตรงที่การใช้สีครามอ่อนอมเขียว ซึ่งเป็นสีที่ไม่เคยปรากฏใช้ในที่แห่งอื่น ๆ สีครามอ่อนอมเขียวเป็นใบไม้บนบานประตูและบานหน้าต่าง ณ สถานที่แห่งนี้ สดใสเป็นพิเศษ เป็นสิ่งแปลกในกระบวนการผสมสีในการเขียนระบายลายกำมะลอเพราะโดยปรกติของการผสมสีฝุ่นกับยางรักสีแต่ละสีจะถูกยางรักกดความสดใสลงถึงครึ่งหนึ่ง ทำให้สีในงานเขียนกำมะลอ ดูหม่นมืดทุกสีแต่ในกรณีสีครามอมเขียวบนบานประตูและบานหน้าต่างพระวิหารกับศาลาการเปรียญที่วัดเฉลิมพระเกียรติ น่าที่จะมีวิธีการผสมสีเป็นพิเศษต่างกว่าที่รู้ ๆ กันในเวลานั้น และน่าจะกล่าวได้ว่าเป็นวิธีการเฉพาะตัวของช่างผู้ทำการเขียนที่นั่นโดยแท้ทั้งนี้ไม่ปรากฏมีงานเขียนลายกำมะลอเขียนสีครามอ่อนอมเขียวได้รับการทำขึ้นในภายหลังแลวิธีการผสมสีให้สดใสก็ยังเป็นความลับมาจนปัจจุบัน งานเขียนลายกำมะลอบนบานประตูและหน้าต่าง ซึ่งได้ทำขึ้นเมื่อรัชกาลที่ 3 ที่มีความสวยงามและเป็นตัวอย่างที่ดีคือ บานประตูและบานหน้าต่างหอไตร วัดโมฬีโลกยาราม ริมคลองบางกอกใหญ่ แต่เป็นเรื่องน่าเสียดายอย่างยิ่งที่ภาพลวดลายเขียนด้วยวิธีกำมะลอส่วนใหญ่หลุดลอกและสีตกจางลงไปมากบางส่วนก็สูญหายและไม่เห็นร่องรอยเดิมเหลืออยู่เลย
 
'''=== ลายกำมะลอ'''<br />===
== ตัวอักษรหัวเรื่อง ==
การเขียนลายกำมะลอ เป็นงานเขียนวาดเส้น และ ระบายทำเป็นลวดลาย หรือ รูปภาพด้วยวิธีการอย่างโบราณ วิธีหนึ่งที่เขียนเป็นลวดลาย และ เขียนเป็นรูปภาพต่างๆ เขียนระบายด้วยสีหม่นๆ บนพื้น ซึ่งทาด้วยยางรักเป็นสีดำสนิท แสดงเส้นล้อมเป็นขอบรูปภาพ หรือ ลวดลายด้วยเส้นสีทองสดใส เพิ่มความชัดเจน และ น่าสนใจชมขึ้นบนพื้นสีดำ
“กำมะลอ” คือ ของที่ทำเทียม มีลักษณะไม่คงทน
“กำมะลอ”สำหรับช่างเขียนไทย คือ “งานเขียนสีผสมน้ำรัก”
ช่างไทยโบราณถือว่า งาน “ลายกำมะลอ” เกิดจากการนำลาย มาวาดผูกกันให้เกิดเป็นรูปภาพ ดังนั้นคำว่า “ลายกำมะลอ” จึงหมายถึง “ภาพเขียนผูกขึ้น ด้วยลายระบายด้วยสีกำมะลอ
ที่มาของลายกำมะลอ
ประเทศจีนเป็นต้นกำเนิดของลายกำมะลอ ชาวจีนใช้ลายกำมะลอเขียนตกแต่งเครื่องเรือนชนิดต่างๆเช่น ลับแล ฝาตู้ ฉากพับ เป็นต้น ส่วนในประเทศไทยลายกำมะลอปรากฏขึ้นในสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย โดยสันนิษฐานว่าพ่อค้าชาวจีนนำเข้ามาโดยบรรทุกเครื่องเรือนมากับเรือสำเภาเข้ามาค้าขายในกรุงศรีอยุธยา คนไทยได้พบเห็นลายกำมะลอ เกิดความพึงพอใจ แต่ไม่สามารถเขียนขึ้นได้เพราะไม่รู้วิธีผสมสีผสมน้ำยา ต่อมาช่างไม้ชาวจีนเข้ามาตั้งรับจ้างต่อเครื่องเรือนขายในกรุงศรีอยุธยา ช่างจีนพวกนี้ได้เขียนลวดลายกำมะลอ คนไทยผ่านมาพบเห็นจึงจดจำและนำไปทำตาม จึงได้มีการเขียนลายกำมะลอที่งดงาม ตกแต่งประดับอยู่ตามฝาตู้ ฝาหีบเป็นจำนวนมากในสมัยอยุธยาตอนปลาย
ลักษณะของลายกำมะลอ
การระบายสีในลายกำมะลอ เป็นการระบายสีโดย ใช้สีฝุ่นต่าง ๆ ผสมยางรัก ยางรักมีคุณสมบัติยึดสีให้จับติดกับพื้นที่ทาไว้ด้วย ยางรักมีสีดำ สีฝุ่นที่ใช้เมื่อผสมกับยางรักสีดำก็กลายเป็นสีที่หม่นทุกสี สีผสมยางรักนี้เมื่อนำมาเขียนระบายเป็นรูปภาพขึ้นบนพื้นที่ทายาง รักสีดำขึ้นไว้แต่แรกก็จะเป็นรูปภาพ ช่วยให้เด่นเห็นชัดเจนขึ้น ลายกำมะลอที่เขียนขึ้นจะมีเอกลักษณ์เฉพาะเด่นชัดคือ พื้นสีดำ ลวดลายหรือรูปภาพมีสีสันต่าง ๆที่หม่น ส่วนที่เห็นชัดขึ้นมาจากพื้นที่เป็นสีหม่น คือสีทองของเส้นที่แสดงรายละเอียดต่าง ๆ ของลวดลายหรือรูปภาพ ลายกำมะลอ เป็นงานตกแต่งซึ่งทำขึ้นบนบานประตู บานหน้าต่าง ฝาตู้ ฝาหีบ ฉาก ลับแล หน้าใบ ประกับคัมภีร์ แผงข้าง เป็นต้น
วิธีการเขียนลายกำมะลอ
1.ร่างแบบ ในงานร่างภาพ หรือ ลวดลาย ขึ้นเป็นแบบลงบนพื้นที่ได้ทารักรองพื้นไว้ เพื่อจะระบายสีลงเป็นรูปภาพ หรือ ลวดลายต่อไปนั้น ได้แก่
1.1 ใช้ดินสอขาวเหลา มีปลายเรียวแหลมเขียนเส้น ร่างลงบนพื้นที่รัก แต่พอเป็นเค้ารอยรูปภาพ หรือ ลวดลายตามที่คิดจะให้เป็น เรียกว่า “กระทบเส้น”วิธีนี้ใช้สำหรับช่างเขียนที่ฝีมือดี
1.2 ร่างแบบลงบนกระดาษ ขนาดเท่ากับพื้นที่ได้ทำเตรียมขึ้นไว้ แล้วทำเป็นแบบโรยด้วยวิธีเดียว กันกับการทำแบบโรย วิธีนี้ใช้สำหรับช่างเขียนที่ฝีมืออ่อน
2.การระบายสี ใช้สีระบายรูปภาพเล็กน้อยไม่นิยมไล่น้ำหนักสี
3.การเขียน ลงเส้นทอง ที่เป็นรายละเอียดในรูปภาพ ลวดลายให้เป็นรูปภาพ รูปลักษณ์ให้มีความชัดเจน ได้แก่ การเขียนลงเส้นโรยฝุ่นทอง และการเขียนลงเส้นปิดทองคำเปลว
งานประณีตศิลป์ประเภทลายกำมะลอขาดตอนลงไประหว่างสมัยที่เสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 จนกระทั่งมาถึงสมัยรัชกาลที่ 3 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระราชดำริให้ฟื้นฟูขึ้นมา ดังจะได้พรรณนาต่อไปข้างหน้า
งานเขียนลายกำมะลอ ที่ได้ทำขึ้นใหม่ในสมัยรัชกาลที่ 3 มีทั้งงานขนาดย่อมและงานขนาดใหญ่ ซึ่งส่วนมากเป็นประณีตศิลป์ที่ทำขึ้นเพื่อเป็นพุทธบูชา
งานเขียนลายกำมะลอขนาดย่อม ได้แก่ประเภทไม้ประกับหน้าผูกคัมภีร์ หีบไม้ใส่สมุดพระมาลัย เป็นต้น
งานเขียนลายกำมะลอมีในงานขนาดใหญ่ แสดงให้เห็นความสำคัญและคุณค่ามาก คืองานเขียนลายกำมะลอบนบานประตูและบานหน้าต่างของโบสถ์ และวิหารในวัดสำคัญตัวอย่างเช่น ลายกำมะลอบนบานประตู และบานหน้าต่าง พระวิหารและศาลาการเปรียญวัดเฉลิมพระเกียรติที่จังหวัดนนทบุรี กระบวนการ
เขียนที่นี่มีลักษณะพิเศษตรงที่การใช้สีครามอ่อนอมเขียว ซึ่งเป็นสีที่ไม่เคยปรากฏใช้ในที่แห่งอื่น ๆ สีครามอ่อนอมเขียวเป็นใบไม้บนบานประตูและบานหน้าต่าง ณ สถานที่แห่งนี้ สดใสเป็นพิเศษ เป็นสิ่งแปลกในกระบวนการผสมสีในการเขียนระบายลายกำมะลอเพราะโดยปรกติของการผสมสีฝุ่นกับยางรักสีแต่ละสีจะถูกยางรักกดความสดใสลงถึงครึ่งหนึ่ง ทำให้สีในงานเขียนกำมะลอ ดูหม่นมืดทุกสีแต่ในกรณีสีครามอมเขียวบนบานประตูและบานหน้าต่างพระวิหารกับศาลาการเปรียญที่วัดเฉลิมพระเกียรติ น่าที่จะมีวิธีการผสมสีเป็นพิเศษต่างกว่าที่รู้ ๆ กันในเวลานั้น และน่าจะกล่าวได้ว่าเป็นวิธีการเฉพาะตัวของช่างผู้ทำการเขียนที่นั่นโดยแท้ทั้งนี้ไม่ปรากฏมีงานเขียนลายกำมะลอเขียนสีครามอ่อนอมเขียวได้รับการทำขึ้นในภายหลังแลวิธีการผสมสีให้สดใสก็ยังเป็นความลับมาจนปัจจุบัน งานเขียนลายกำมะลอบนบานประตูและหน้าต่าง ซึ่งได้ทำขึ้นเมื่อรัชกาลที่ 3 ที่มีความสวยงามและเป็นตัวอย่างที่ดีคือ บานประตูและบานหน้าต่างหอไตร วัดโมฬีโลกยาราม ริมคลองบางกอกใหญ่ แต่เป็นเรื่องน่าเสียดายอย่างยิ่งที่ภาพลวดลายเขียนด้วยวิธีกำมะลอส่วนใหญ่หลุดลอกและสีตกจางลงไปมากบางส่วนก็สูญหายและไม่เห็นร่องรอยเดิมเหลืออยู่เลย
 
== สืบสานความเป็นมาของศิลปินไทย ==