ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สงครามอ่าว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Elite501st (คุย | ส่วนร่วม)
Elite501st (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 465:
 
ด้วยเหตุที่ซาอุดิอาระเบียเป็นที่ตั้งของเมกกะและเมดินา สถานที่ศักดิ์สิทธิที่สุดของชาวมุสลิม ชาวมุสลิมมากมายจึงไม่พอใจที่มีทหารเข้ามาประจำการถาวรในเมือง การมีอยู่ของทหารสหรัฐในซาอุหลังจากสิ้นสุดสงครามเป็นหนึ่งในสาเหตุที่เป็นแรงจูงใจให้กับเหตุการณ์[[วินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544|11 กันยายน]]<ref name="bbc"/> การระเบิดหอโคบาร์ และการเลือกวันระเบิดสถานทูตสหรัฐ (7 สิงหาคม) ในปีพ.ศ. 2541 ซึ่งนับเป็นระยะเวลาแปดปีตั้งแต่ที่ทหารสหรัฐเข้าไปตั้งฐานในซาอุดิอาระเบีย<ref>Plotz, David (2001) [http://www.slate.com/default.aspx?id=115404 What Does Osama Bin Laden Want?], Slate</ref> [[โอซามา บิน ลาเดน]]ย้ำเสมอว่าศาสดา[[มุฮัมมัด]]ได้ห้ามมิให้มี"การปรากฏตัวของพวกนอกศาสนาในพื้นที่ของอาหรับ"<ref name="holywar-p3">{{Cite book|author=Bergen, Peter L. |title=Holy War Inc. |publisher=Simon & Schuster |year=2001 |page=3}}</ref>
===ปฏิบัติการเซาท์เธิร์นวอท์ช===
{{Main|ปฏิบัติการเซาท์เธิร์นวอท์ช}}
ด้วยเหตุจากสงครามสหรัฐจึงคงทหารจำนวน 5 พันนายเอาไว้ในซาอุดิอาระเบียและเพิ่มขึ้นเป็น 1 หมื่นนายในช่วง[[สงครามอิรัก พ.ศ. 2546]]<ref name="bbc">{{Cite news|url=http://news.bbc.co.uk/2/hi/middle_east/2984547.stm|title=US pulls out of Saudi Arabia |accessdate=29 November 2009 |work=BBC News | date=29 April 2003}}</ref> ปฏิบัติการเซาท์เธิร์นวอท์ชทำให้มีการบังคับใช้เขตห้ามบินเหนือพื้นที่ทางใต้ของอิรักหลังจากปีพ.ศ. 2534 การส่งออกน้ำมันผ่านอ่าวเปอร์เซียได้รับการคุ้มกันจากกองเรือที่ห้าของสหรัฐที่มีฐานในบาห์เรน
 
ด้วยเหตุที่ซาอุดิอาระเบียเป็นที่ตั้งของเมกกะและเมดินา สถานที่ศักดิ์สิทธิที่สุดของชาวมุสลิม ชาวมุสลิมมากมายจึงไม่พอใจที่มีทหารเข้ามาประจำการถาวรในเมือง การมีอยู่ของทหารสหรัฐในซาอุหลังจากสิ้นสุดสงครามเป็นหนึ่งในสาเหตุที่เป็นแรงจูงใจให้กับเหตุการณ์[[วินาศกรรม 11 กันยายน พ.ศ. 2544|11 กันยายน]]<ref name="bbc"/> การระเบิดหอโคบาร์ และการเลือกวันระเบิดสถานทูตสหรัฐ (7 สิงหาคม) ในปีพ.ศ. 2541 ซึ่งนับเป็นระยะเวลาแปดปีตั้งแต่ที่ทหารสหรัฐเข้าไปตั้งฐานในซาอุดิอาระเบีย<ref>Plotz, David (2001) [http://www.slate.com/default.aspx?id=115404 What Does Osama Bin Laden Want?], Slate</ref> [[โอซามา บิน ลาเดน]]ย้ำเสมอว่าศาสดา[[มุฮัมมัด]]ได้ห้ามมิให้มี"การปรากฏตัวของพวกนอกศาสนาในพื้นที่ของอาหรับ"<ref name="holywar-p3">{{Cite book|author=Bergen, Peter L. |title=Holy War Inc. |publisher=Simon & Schuster |year=2001 |page=3}}</ref> ในปีพ.ศ. 2539 บิน ลาเดนได้ทำการฟัตวาโดยเรียกร้องให้ทหารของสหรัฐถอยกำลังออกจากซาอุดิอาระเบีย ในเดือนธันวาคมพ.ศ. 2542 บิน ลาเดนได้ให้สัมภาษณ์ว่าเขารู้สึกว่าชาวอเมริกัน "อยู่ใกล้เมกกะมากเกินไป" และมองว่าเป็นการกระทำที่ยั่วยุโลกอาหรับ<ref name="guardian-20010926">{{Cite news|url=http://www.guardian.co.uk/g2/story/0,3604,558075,00.html |archiveurl=http://web.archive.org/web/20080119011449/http://www.guardian.co.uk/g2/story/0,3604,558075,00.html |archivedate=19 January 2008 |title=Face to face with Osama |work=The Guardian |location=London |date=26 September 2001 | accessdate=30 June 2010 | first=Rahimullah | last=Yusufzai}}</ref>
 
===การคว่ำบาตร===
{{Main|มติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสกประชาชาติที่ 661|การคว่ำบาตรต่ออิรัก}}
{{Wikisource|United Nations Security Council Resolution 661}}
ในวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2533 คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติได้มีมติที่ 661 ออกมาหลังจากที่อิรักรุกรานคูเวต ซึ่งมติดังกล่าวทำให้เกิดการคว่ำบาตรทางเศรษฐกิจต่ออิรัก ทำให้สินค้ามากมายรวมทั้งยา อาหาร และสิ่งของอื่นๆ ที่จำเป็นขาดแคลนในอิรัก ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2533-2546 ผลจากนโยบายของรัฐบาลอิรักและการคว่ำบาตรทำให้เกิด[[ภาวะเงินเฟ้อขั้นรุนแรง]] ส่งผลให้เกิดปัญหาความยากจนและอดอยากไปทั่วประเทศ
 
ในทศวรรษที่ 2533 สหรประชาชาติตัดสินใจที่จะลดระดับการคว่ำบาตรลงเพราะมีชาวอิรักมากมายได้รับผลเสีย หลายการศึกษายังคงถกเถียงกันว่ามีผู้คนมากแค่ไหนที่เสียชีวิตในเขตใต้และกลางของอิรักในช่วงที่มีการคว่ำบาตร<ref>{{cite web|url=http://www.unicef.org/newsline/99pr29.htm|title=Iraq surveys show 'humanitarian emergency' |date=12 August 1999|accessdate=29 November 2009}}</ref><ref name=Spagat>{{cite web|url=http://personal.rhul.ac.uk/uhte/014/Truth%20and%20Death.pdf |title=Truth and death in Iraq under sanctions |first=Michael |last=Spagat |date=September 2010 |publisher=[[Significance (journal)|Significance]] }}</ref><ref>{{cite journal|last=Rubin |first=Michael |title=Sanctions on Iraq: A Valid Anti-American Grievance? |publisher=[[Middle East Review of International Affairs]] |volume=5 |issue=4 |url=http://www.iraqwatch.org/perspectives/meria-rubin-sanctions-1201.htm |pages=100–115 |date=December 2001 |authorlink=Michael Rubin }}</ref>
 
===น้ำมันที่รั่วไหล===
{{Main|การรั่วไหลของน้ำมันในสงครามอ่าวเปอร์เซีย}}
 
ในวันที่ 23 มกราคม อิรักได้ทิ้ง[[น้ำมันดิบ]]จำนวน 400 ล้านแกลลอน (1.5 ล้านลูกบาศก์เมตร) ลงในอ่าวเปอร์เซีย<ref name=dukemag030403 /> ส่งผลให้เกิด[[การรั่วไหลของน้ำมัน]]นอกชายฝั่งครั้งที่เลวร้ายที่สุด ณ เวลานั้น<ref name=dukemag030403>{{cite web|url=http://www.dukemagazine.duke.edu/dukemag/issues/030403/oil1.html |title=Duke Magazine-Oil Spill-After the Deluge, by Jeffrey Pollack-Mar/Apr 2003 |publisher=Dukemagazine.duke.edu |accessdate=1 February 2011}}</ref> รายงานกันว่าการกระทำดังกล่าวมีจุดประสงค์เพื่อทำให้นาวิกโยธินสหรัฐไม่สามารถยกพลขึ้นบกได้ (เรือ"มิสซูรี"และ"วิสคอนซิน"ได้ระดมยิงใส่[[เกาะเฟลากา]]เพราะคิดว่าอิรักอาจเตรียมทำการโจมตีสะเทิ้นน้ำสะเทิ้นบกจากเกาะดังกล่าว)<ref name="Desert Storm">{{cite web|title = V: "Thunder And Lightning"- The War With Iraq (Subsection:The War At Sea) |work= The United States Navy in "Desert Shield" / "Desert Storm"| url = http://www.history.navy.mil/wars/dstorm/ds5.htm |publisher= [[United States Navy]] |accessdate=26 November 2006}}</ref> ประมาณ 30–40% ของน้ำมันที่รั่วไหลเกิดจากการเข้าโจมตีเป้าหมายตามชายฝั่งโดยกองกำลังพันธมิตร<ref>{{Cite book| author = Leckie, Robert |title = The Wars of America | publisher = Castle Books | year = 1998}}</ref>
 
===การเผาน้ำมันของคูเวต===
{{Main|การเผาน้ำมันในคูเวต}}
การเผาน้ำมันของคูเวตเกิดขึ้นจากฝีมือของทหารอิรักที่วางเพลิงบ่อน้ำมัน 700 แห่งตามนโยบาย[[scorched earth|เผาทำลาย]]ในตอนที่พวกเขาล่าถอยจากคูเวตในปีพ.ศ. 2534 การวางเพลิงเริ่มขึ้นในเดือนมกราคมและกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 และควบคุมเพลิงได้ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2534<ref>{{cite web|url=http://earthshots.usgs.gov/Iraq/Iraqtext|title="Iraq and Kuwait: 1972, 1990, 1991, 1997." Earthshots: Satellite Images of Environmental Change|last=Wellman|first=Robert Campbell|date=14 February 1999|publisher=U.S. Geological Survey. http://earthshots.usgs.gov|accessdate=27 July 2010}}</ref>
 
สาเหตุที่ไม่สามารถควบคุมเพลิงไหม้ได้ก็เพราะว่าพื้นที่ดังกล่าวมีอันตรายเกินไปสำหรับนักดับเพลิง ทหารอิรักได้วาง[[ทุ่นระเบิดบก]]ไว้ทั่วบริเวณบ่อน้ำมัน ทำให้ทหารต้องเข้าไปเก็บกู้ระเบิดก่อนที่จะส่งนักดับเพลิงเข้าไปดับไฟ ประมาณกันว่ามีน้ำมันถูกเผาไป 6 ล้านบาเรล (9.5 แสนลูกบาศก์เมตร) ในแต่ละวัน ในที่สุดทีมดับเพลิงเอกชนก็สามารถเข้าควบคุมเพลิงได้ โดยคูเวตเสียน้ำมันคิดเป็นเงินได้ 15,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐ<ref>{{Cite book|last=Husain |first=T. |title=Kuwaiti Oil Fires: Regional Environmental Perspectives |year=1995 |publisher=BPC Wheatons Ltd |location=Oxford |page=68}}</ref> การลุกไหม้กินเวลา 10 เดือนซึ่งก่อให้เกิดมลพิษไปทั่วประเทศ
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}