ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แคว้นมคธ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Addbot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 34 interwiki links, now provided by Wikidata on d:q234009 (translate me)
ป้ายระบุ: ลบลิงก์ข้ามภาษา
Poonyo (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 1:
{{พุทธศาสนา}}
{{รอการตรวจสอบ}}
[[ไฟล์:Ancient india.png|right|thumb|400250px|แผนที่[[เอเชียใต้]] แสดงภาพแคว้นอินเดียโบราณทั้ง 16 แห่ง ซึ่งเรียกรวมกันว่า[[มหาชนบท]]]]
 
'''แคว้นมคธ''' ([[บาลี]]/[[สันสกฤต]]: मगध ''มะคะธะ'') เป็นชื่อแคว้นหนึ่งในจำนวน 16 แคว้นใหญ่ใน[[ชมพูทวีป]]สมัย[[พุทธกาล]] มีเมืองหลวงชื่อ[[ราชคฤห์]] พระราชาที่ปกครองแคว้นมคธสมัยพุทธกาลคือ[[พระเจ้าพิมพิสาร]] ต่อจากนั้นคือ[[พระเจ้าอชาตศัตรู]]ผู้เป็นพระราชโอรส
 
'''แคว้นมคธ''' เป็นแคว้นที่พระพุทธเจ้าทรงเลือกประดิษฐานพระพุทธศาสนาเป็นแห่งแรกเพราะเป็นแคว้นใหญ่ และทรงรับสวน[[เวฬุวัน]]นอกเมืองราชคฤห์เป็น[[อาราม]]แห่งแรกในพระพุทธศาสนา
 
'''มคธ''' เป็นชื่อของภาษาด้วยคือ [[ภาษามคธ]] อันเป็นภาษาที่พระพุทธเจ้าทรงเลือกใช้ในการประกาศพระศาสนา ซึ่งต่อมาเรียกว่า [[ภาษาบาลี]] เพราะเป็นภาษาที่รักษาพระพุทธศาสนาเข้าไว้
 
== ประวัติศาสตร์มคธ ==
ราชอาณาจักรมคธถือเป็นอาณาจักรที่มีอำนาจมากที่สุดในชมพูทวีป ปกครองด้วยระบอบสมบูรณายาสิทธิราชย์ ถือกำเนิดขึ้นไล่เลี่ยกับการกำเนิดของมหาชนบท 16 แคว้น มีเมืองหลวงครั้งแรกชื่อ[[ราชคฤห์]] ต่อมาพระเจ้าอชาตศัตรูจึงย้ายเมืองหลวงไปยังปาฏลีบุตร ([[ปัฏนะ]]) ริมฝั่งแม่น้ำคงคา มคธได้ผ่านการรัฐประหารเปลี่ยนแปลงขั้วอำนาจมาหลายครั้ง ไม่ว่าจะมาจากอำมาตย์สุสุนาค มหาโจรนันทะ จันทรคุปต์ พราหมณ์ปุษยมิตร ฯลฯ แคว้นมคธได้สิ้นสุดลงในปี [[พ.ศ. 516]] กลายเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรอันธระ ต่อมา ประมาณปลายพุทธศตวรรษที่ 9 ราชอาณาจักรมคธก็ฟื้นคืนชีพอีกครั้งในนามของ[[ราชวงศ์คุปตะ]] อันเป็นยุคคลาสสิกของอินเดีย ราชอาณาจักรมคธในยุคนี้ก็อยู่สืบต่อมา แต่มิใช่ศูนย์อำนาจอีกหลังคุปตะล่มสลาย จนกองทัพมุสลิมเติร์กเข้ายึดอินเดียเหนือได้ทั้งหมด จึงเป็นจุดสิ้นสุดที่แท้จริงของราชอาณาจักรมคธ
 
== รายพระนามกษัตริย์แห่งแคว้นมคธ ==
{{พุทธศาสนา}}
กษัตริย์แห่งแคว้นมคธเท่าที่มีหลักฐานแน่นอน แบ่งออกเป็น 7 ราชวงศ์ ดังนี้
 
=== ราชวงศ์หารยังกะ ===
# พระเจ้าภาติกะ
# [[พระเจ้าพิมพิสาร]]
เส้น 26 ⟶ 25:
การสิ้นสุดของราชวงศ์หารยังกะ เกิดจากอำมาตย์สุสุนาคเห็นว่า ราชวงศ์หารยังกะเป็นราชวงศ์ปิตุฆาตโดยตลอด จึงทำรัฐประหารเพื่อมิให้เป็นเสนียดแก่อาณาจักรอีก
 
===[[ ราชวงศ์สุสุนาค]] ===
ตั้งโดยขุนนางชื่อสุสุนาค
# พระเจ้าสุสุนาค
เส้น 34 ⟶ 33:
การสิ้นสุดของราชวงศ์สุสุนาค เกิดจากมหาโจรนันทะก่อรัฐประหาร
 
===[[ ราชวงศ์นันทะ]] ===
ตั้งโดยมหาโจรชื่อนันทะ
# พระเจ้ามหาปัทมานันทะ
เส้น 51 ⟶ 50:
การสิ้นสุดของราชวงศ์นันทะ เกิดจากการทำรัฐประหารของจันทรคุปต์ ภายใต้การวางแผนของพราหมณ์จาณักยะ ซึ่งไม่พอใจราชสำนักปาฏลีบุตรในขณะนั้น
 
===[[ ราชวงศ์เมาริยะ]] ===
ตั้งโดยจันทรคุปต์
# [[พระเจ้าจันทรคุปต์]]
เส้น 65 ⟶ 64:
การสิ้นสุดของราชวงศ์เมาริยะ มาจากการทำรัฐประหารของพราหมณ์ปุษยมิตร ซึ่งนับเป็นผลกระทบจากนโยบายของพระเจ้าอโศกมหาราชที่ส่งผลกระทบต่อพราหมณ์โดยตรง เมื่อราชวงศ์อ่อนแอ กลุ่มอำนาจพราหมณ์จึงเข้าทำรัฐประหาร และกวาดล้างพระพุทธศาสนาในมคธครั้งใหญ่ในเวลาต่อมา
 
===[[ ราชวงศ์สุงคะ]] ===
ตั้งโดยพราหมณ์ชื่อปุษยมิตร
# พระเจ้าปุษยมิตร
เส้น 78 ⟶ 77:
# พระเจ้าเทวภูติ
 
===[[ ราชวงศ์กานวะ]] ===
# พระเจ้าวาสุเทวะ
# พระเจ้าภูมิมิตร
เส้น 86 ⟶ 85:
หลังจากนั้น ปี [[พ.ศ. 516]] พระเจ้าศรีมุขะแห่งอันธระยึดแคว้นมคธได้เป็นอันว่าแคว้นมคธได้ล่มสลายลงเป็นครั้งแรก ก่อนจะฟื้นอีกครั้งใน[[ราชวงศ์คุปตะ]]
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
* [[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. 9 [[ราชบัณฑิต]] ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด '''คำวัด'''. '' [[วัดราชโอรสาราม]] กรุงเทพฯ, 2548
{{เริ่มอ้างอิง}}
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = [[พระธรรมกิตติวงศ์]] (ทองดี สุรเตโช) ป.ธ. 9 [[ราชบัณฑิต]]| ชื่อหนังสือ = ''พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด '''คำวัด'''.| ''URL = | จังหวัด = กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = [[วัดราชโอรสาราม]]| กรุงเทพฯ,ปี = 2548| ISBN = | จำนวนหน้า = | หน้า = }}
{{จบอ้างอิง}}
 
{{ราชอาณาจักรยุคกลางของอินเดีย}}
เส้น 93 ⟶ 95:
{{จักรวรรดิ}}
 
[[หมวดหมู่:เมืองสำคัญทางศาสนาพุทธ|คแคว้นมคธ]]
[[หมวดหมู่:ประเทศอินเดีย|คแคว้นมคธ]]
[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ศาสนาพุทธ|คแคว้นมคธ]]
[[หมวดหมู่:รัฐพิหาร]]