ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธูปฤๅษี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
PAHs (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ปรับภาษา}}
{{รวม|กกช้าง}}
{{ตารางจำแนกพันธุ์
| name = ธูปฤๅษี
เส้น 16 ⟶ 14:
| binomial_authority = [[Typhaceae]]
}}
[[ไฟล์:Typha angustifolia nf.jpg|thumbnail|]]
 
'''ธูปฤๅษี''' {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Typha angustifolia}}หรือกกช้าง ชื่ออื่นๆ คือ กกธูป หญ้าสลาบหลวง เฟื้อ ปรือเป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวที่เป็น[[ไม้ล้มลุก]]ชนิดหนึ่ง อายุหลายปี มีถิ่นกำเนิดในทวีปยุโรปและอเมริกา
'''ธูปฤๅษี''' เป็นไม้ล้มลุกอายุหลายปี ใบเลี้ยงเดี่ยว เป็นพืชที่เจริญเติบโตอยู่ในน้ำจัดว่าเป็น[[วัชพืช]]ชนิดหนึ่ง มีถิ่นกำเนิดในทวีปยุโรปและอเมริกา ชื่อวิทยาศาสตร์คือ ''Typha angustifolia L. Typhaceae'' อยู่ในวงศ์ Typhaceae สกุล Typha Typhaceae ชื่อ '''Typha''' มาจากภาษากรีก typhos แปลว่า marsh หมายถึงอยู่ในที่ชื้นแฉะ มีชื่อสามัญหลายชื่อดังนี้ ธูปฤๅษี, Elephant grass, Cat-tail, Lesser reedmace, Narrow-leaved Cat-tail ชื่ออื่นๆ กกช้าง กกธูป หญ้าสลาบหลวง เฟื้อ ปรือ
 
== ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ==
 
เป็นไม้ล้มลุกอายุหลายปี ตั้งตรง สูง 1.5-3 ม. .[[เหง้า]]กลม แทงหน่อขึ้นเป็นระยะสั้นๆ ใบเดี่ยวเรียงสลับระนาบเดียว ใบเป็นรูปแถบแบน กว้าง 1-2 ซม. ยาว 2 ม. ใบแตกสลับกันเป็นสองแถวด้านข้าง มีกาบใบ แผ่นใบด้านบนโค้งเล็กน้อย ส่วนด้านล่างแบน ช่อดอกเป็นสีน้ำตาล ช่อดอกรูปทรงกระบอก แยกเพศบนก้านเดียวกัน ก้านช่อดอกกลม แข็ง ช่วงดอกเพศผู้อยู่ที่ปลายช่อ ยาว 8-40 ซม. เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 ซม. มีใบประดับ 1-3 ใบ แต่จะหลุดร่วงไป ช่วงดอกเพศเมียอยู่ด้านล่าง ยาว 5-30 ซม. เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2 ซม. มักแยกออกจากส่วนดอกเพศผู้ด้วยส่วนก้านช่อดอกที่เป็นหมันที่ยาว 2.5-7 ซม. ดอกมีขนาดเล็ก ไม่มีกลีบดอกและกลีบเลี้ยง เกสรเพศผู้ส่วนมากมี 3 อัน มีขนล้อมรอบ ก้านเกสรเพศผู้สั้น อับเรณูยาว 1.5-2 มม. ดอกเพศเมียมีใบประดับย่อยรูปเส้นด้าย รังไข่รูปกระสวย ก้านรังไข่เรียว ยาวประมาณ 5 มม. มีขนยาวสีขาว ก้านเกสรเพศเมียยาว 1-1.5 มม. มีขนแต่สั้นกว่าบนก้านรังไข่ ยอดเกสรรูปใบหอก ผลมีขนาดเล็ก รูปรี เส้นผ่าศูนย์กลาง 2.5-3 ซม. ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ดอกมีจำนวนมาก ติดกันแน่น สีน้ำตาล ลักษณะคล้ายธูปดอกใหญ่ ก้านช่อดอกกลม แข็ง ดอกแยกเพศ แบ่งเป็นตอนเห็นได้ชัด กลุ่มดอกเพศผู้อยู่ปลายก้าน รูปทรงกระบอก กลุ่มดอกเพศเมียรูปทรงกระบอกเช่นกันแต่ใหญ่กว่ากลุ่มดอกเพศผู้ ดอกแก่จะแตกเห็นเป็นขนขาวฟู ผลเล็กมาก เมื่อแก่แตกตามยาว
 
== การขยายพันธุ์ ==
เส้น 29 ⟶ 27:
== ประโยชน์ ==
 
ใบยาวและเหนียวนิยมใช้ทำเครื่องจักสาน เช่น [[เสื่อ]] [[ตะกร้า]] ใช้มุงหลังคา และทำ[[เชือก]] ดอกแก่จัดมีขนปุยนุ่มมือลักษณะคล้ายปุยนุ่นจึงนิยมใช้แทนนุ่น ยอดอ่อนกินได้ทั้งสดและทำให้สุก ช่อดอกปิ้งกินได้ แป้งที่ได้จากลำต้นใต้ดินและรากใช้บริโภคได้เช่นกัน ใน[[อินเดีย]]เคยใช้ก้านช่อดอกทำปากกา และเชื่อว่าลำต้นใต้ดินและรากใช้เป็นยาบำบัดโรคบางชนิด เช่น ขับปัสสาวะ เยื่อ (pulp) ของต้นกกช้างนำมาใช้ทำ[[ใยเทียม]] (rayon) และ[[กระดาษ]]ได้ มี[[เส้นใย]] (fibre) ถึงร้อยละ 40 เส้นใยนี้มีความชื้นร้อยละ 8.9 [[เซลลูโลส]] (cellulose) ร้อยละ63 เฮมิเซลลูโลส (hemicellulose) ร้อยละ 8.7 ลิกนิน (lignin) ร้อยละ 9.6 ไข (wax) ร้อยละ 1.4 และ[[เถ้า]] (ash) ร้อยละ 2 เส้นใยมีสีขาวหรือน้ำตาลอ่อน นำมาทอเป็นผ้าใช้แทนฝ้ายหรือขนสัตว์ สามารถนำมาใช้เป็น[[พืชคลุมดิน]] เพื่อลดการพังทลายของหน้าดิน เนื่องจากมีระบบรากที่ดี
- ยอดอ่อนสามารถนำมารับประทานได้ทั้งแบบสด และปรุงสุก
 
กกช้างมีปริมาณ[[โปรตีน]] และ[[คาร์โบไฮเดรต]]ค่อนข้างสูง กากที่เหลือจากการสกัดเอาโปรตีนและคาร์โบไฮเดรตออกแล้วใช้แบคทีเรียที่ไม่ใช้[[ออกซิเจน]] (anaerobic bacteria) ย่อย จะให้แก๊สมีเทน (methane) ซึ่งใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ ผลของกกช้างมี long chain hydrocarbon 2 ชนิด คือ pentacosane 1-triacontanol สารพวก phytosterol 2 ชนิด คือ B - sitosterol และ B-sitosteryl-3-0-B-D-glucopyranoside กกช้างสามารถกำจัดไนโตรเจนจากน้ำเสียในที่ลุ่มต่อไร่ได้ถึง 400 กก. ต่อปี และสามารถดูดเก็บโพแทสเซียมต่อไร่ได้ถึง 690 กก. ต่อปี จึงเป็นพืชอีกชนิดหนึ่งที่จะมีบทบาทเป็นพืชเศรษฐกิจในอนาคต
- ใบยาวและเหนียว ใช้มุง[[หลังคา]] หรือทำ[[เครื่องจักสาน]] เช่น [[ตะกร้า]] [[เสื่อ]] [[กระเป๋า]]
 
[[ไฟล์:Typha angustifolia (habitus) 1.jpg|thumb|left|175px|''Typha angustifolia'']]
- ใบและช่อดอกนำมาเป็นไม้ประดับ
 
- ธูปฤๅษีสามารถนำมาใช้เป็น[[พืชคลุมดิน]] เพื่อลดการพังทลายของหน้าดิน เนื่องจากมีระบบรากที่ดี
 
- ใช้ในการบำบัด[[น้ำเสีย]]จากชุมชนหรือโรงงาน มีงานวิจัยศึกษาศักยภาพในการบำบัดน้ำเสียของธูปฤๅษี พบว่าธูปฤๅษีใบกว้างมีศักยภาพในการบำบัดน้ำเสียดีกว่าธูปฤๅษีใบแคบ และฤดูกาลมีผลต่อศักยภาพในการบำบัดน้ำเสียของธูปฤๅษี โดยจะมีศักยภาพสูงสุดในฤดูร้อน
 
== อ้างอิง ==
* [http://www.rspg.thaigov.net/plants_data/plantdat/typhacea/tangus_1.htm ข้อมูลกกช้างโดยโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯ]
 
* http://web3.dnp.go.th/botany/detail.aspx?words=%E0%B8%98%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B8%A4%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B5&typeword=group
* http://clgc.rdi.ku.ac.th/index.php/rs/weed/373-typha
 
[[หมวดหมู่:พืชวงศ์ธูปฤๅษี]]
[[หมวดหมู่:พืชที่รับประทานได้]]
{{โครงพืช}}
[[หมวดหมู่:พืชที่ใช้ทำของใช้]]
[[หมวดหมู่:สมุนไพร]]