ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เพลงลูกทุ่ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Moomdede (คุย | ส่วนร่วม)
coi
บรรทัด 18:
ส่วนคำว่า "เพลงลูกทุ่ง" อาจารย์[[จำนง รังสิกุล]] คิดประดิษฐ์ขึ้นใช้เมื่อวันที่ [[1 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2507]]<ref name="คอลัมน์ รู้ไปโม้ด">[http://www.matichon.co.th/youth/youth.php?tagsub=031103&tag950=03you01080946&show=1 ประวัติลูกทุ่งไทย ] คอลัมน์ รู้ไปโม้ด</ref> เพลงลูกทุ่งมีความชัดเจนจากเพลง[[ลูกกรุง]]โดย[[ประกอบ ไชยพิพัฒน์]] จัดรายการเพลงสถานีไทย โทรทัศน์ ใช้ชื่อรายการว่า "เพลงลูกทุ่ง"<ref>[http://www.st.ac.th/marchingband/st2b.htm ประวัติเพลงลูกทุ่ง]</ref>
 
[[สุรพล สมบัติเจริญ]] ได้ทำให้เพลงลูกทุ่งอยู่ในความนิยม ในช่วงปี พ.ศ. 2506 –2506–2513 จนเรียกได้ว่าเป็นยุคทองของเพลงลูกทุ่ง ได้เกิดการแข่งขัน และยังมีนักร้องลูกทุ่งเกิดขึ้นใหม่หลายคน ต่อมาหลังเหตุการณ์ [[14 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2516]] เพลงลูกทุ่งก็อยู่ในยุค[[เพลงเพื่อชีวิต]] เนื้อหาเพลงลูกทุ่ง ได้สอดแทรกเนื้อหาเพลงเพื่อชีวิต โดยในยุคนั้นมีเพลงลูกทุ่งเพื่อชีวิตเป็นจำนวนมาก หลังจากนั้น ระหว่าง พ.ศ. 2520–2528 วงดนตรีเพลงลูกทุ่งได้เข้าสู่ระบบทุนมากขึ้น มีการแสดงเพลงลูกทุ่งมีการประกวดประชันการเต้นและเครื่องแต่งกายของ[[หางเครื่อง]]ประกอบ จนในปัจจุบัน มีศิลปินลูกทุ่งหน้าใหม่เข้าสู่วงการเพลงลูกทุ่งของค่ายเพลงหน้าใหม่ ตลาดเพลงลูกทุ่งเป็นตลาดใหญ่ เพลงลูกทุ่งได้รับความนิยมอีกครั้ง และมีการมอบรางวัลทางดนตรีลูกทุ่งอยู่หลายรางวัล
 
สำหรับธุรกิจเพลงลูกทุ่งในปัจจุบันถือเป็นตลาดใหญ่ มีทั้งค่ายเล็ก ค่ายใหญ่ เป็นจำนวนมาก โดยสัดส่วนของเงินในตลาดเพลงลูกทุ่งครอง คาดการณ์น่าจะอยู่ที่ ปีละ 1,000-1,500 ล้านบาท โดยมีตลาดหลักอยู่ที่[[ภาคอีสาน]] 50% [[ภาคเหนือ]]และ[[ภาคกลาง]] 35% และ[[ภาคใต้]] 15% และสัดส่วนการแบ่งตลาด มี[[แกรมมี่ โกลด์]] ครองส่วนแบ่งการตลาดเพลงลูกทุ่งทั่วประเทศ 65% ส่วน[[อาร์สยาม]] 19% และอื่นๆ 16% ซึ่งธุรกิจเพลงลูกทุ่งได้ขยายไปสู่ธุรกิจใกล้เคียงอย่างสื่อวิทยุ โทรทัศน์และภาพยนตร์
บรรทัด 186:
<div style="overflow:scroll;height:300px;">
{{รายการอ้างอิง|2}}
43. ↑ [http://radio.sanook.com/live/player/OK-ลูกทุ่ง/500113/ ฟังเพลงลูกทุ่งออนไลน์] Sanook.com
</div>