ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คองคอร์ด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Sasakubo (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 4918439 สร้างโดย 125.25.6.68 (พูดคุย)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:AirFranceConcorde.jpg|thumb|250px|เครื่องบินคองคอร์ด]]
'''เครื่องบินคองคอร์ด''' ({{lang-en|Concorde}}) เป็น[[เครื่องบิน]]ขนส่งชนิดมีความเร็วเหนือใต้เสียง เป็นหนึ่งในสองแบบของเครื่องบินเหนือใต้เสียงที่ใช้เป็นเครื่องบินโดยสาร และนำมาให้บริการในเชิงพาณิชย์ โดยใช้เวลาศึกษาวิจัยเป็นเวลา 7 ปี เครื่องคองคอร์ดต้นแบบเครื่องแรกบินครั้งแรกเมื่อวันที่ [[2 มีนาคม]] [[ค.ศ. 1969]]<ref>{{cite web |url= http://news.google.co.uk/newspapers?id=KXoyAAAAIBAJ&sjid=GLkFAAAAIBAJ&pg=6573,360672&dq=concorde&hl=en |title= Pilot Says Concorde Flight "Perfect" |publisher=''Montreal Gazette,'' |accessdate=30 June 2011 |year= 1969 |unused_data= 1 March date= }}</ref> ทดสอบและพัฒนาอีก 4 ปี โดยคองคอร์ดเครื่องแรกออกจากสายการผลิตและเริ่มบินทดสอบเมื่อวันที่ [[6 ธันวาคม]] [[ค.ศ. 1973]] รวมตั้งแต่เริ่มโครงการจนนำมาผลิตใช้เวลากว่า 13 ปีเต็มใช้เงินในการพัฒนากว่า 1,000 ล้านปอนด์ <ref name="คองคอร์ด"/>
 
เครื่องบินคองคอร์ดมีความเร็วปกติที่ [[มัคกิโลเมตร]] 2.0280 และเพดานบินสูงสุด 6012,000 [[ฟุต]] (18,28812 [[เมตรกิโลเมตร]]) มีปีกสามเหลี่ยม และเป็นวิวัฒนาการจากเครื่องบิน Afterburner ที่เดิมนั้นพัฒนาขึ้นสำหรับใช้ใน[[เครื่องบินทิ้งระเบิด]] Avro Vulcan นับเป็นเครื่องบินพลเรือนแบบแรกที่ติดระบบควบคุมการบินอะนาลอกแบบฟลายบายไวร์ (fly-by-wire)
 
การบินเชิงพาณิชย์ของคองคอร์ด ดำเนินการโดย[[บริติชแอร์เวย์]] (British Airways) และ[[แอร์ฟรานซ์]] (Air France) เริ่มต้นเมื่อวันที่ [[21 มกราคม]] [[ค.ศ. 1976]] และสิ้นสุดลงเมื่อวันที่ [[24 ตุลาคม]] [[ค.ศ. 2003]] และมีเที่ยวบิน “เกษียณอายุ” เมื่อวันที่ [[26 พฤศจิกายน]] [[ค.ศ. 2003]] เที่ยวบิน[[ลอนดอน]]-[[นิวยอร์ก]] และ[[ปารีส]]-[[นิวยอร์ก]] ใช้เวลาเดินทางเฉลี่ยประมาณ 3.5 ชั่วโมงวัน
 
เครื่องบินคองคอร์ด และเครื่องบินคู่แข่ง คือ [[ตูโปเลฟ ตู-144]] มีข้อจำกัดในการออกแบบด้านพลศาสตร์ ซึ่งส่วนหัวของเครื่องบินจะต้องเชิดขึ้น ส่งผลให้ทัศนวิสัยของนักบินไม่ดี ผู้ออกแบบได้แก้ไขโดยเพิ่มกลไกปรับส่วนหัวของเครื่องบิน ให้กดลงมา เพื่อให้นักบินมองเห็นสนามบินขณะเครื่องบินขึ้น ลงจอด และขณะอยู่บนแทกซี่เวย์ ส่วนหัวของคองคอร์ดปรับทำมุมกดได้ 12.5°
 
เครื่องบินคองคอร์ด มีทั้งสิ้น 20 ลำ เป็นเครื่องที่ใช้ในการพัฒนา 6 ลำ ใช้งานเชิงพาณิชย์ 14 ลำ ตก 1 ลำ
บรรทัด 22:
[[ไฟล์:Startende Concorde.jpg|thumb|คองคอร์ตขณะกำลังบินขึ้น (สังเกต ส่วนหัวของเครื่องบินที่ปรับทำมุมลง เพื่อให้นักบินมองเห็นสภาพสนามบิน)]]
* '''ผู้สร้าง''': บริษัท [[บีเอซี]]/[[แอโรสปาติออง]] ([[อังกฤษ]]/[[ฝรั่งเศส]])
* '''ประเภท''': เจ๊ตแอร์บัสโดยสารความเร็วเหนือใต้เสียง เจ้าหน้าที่ 3 นาย อัตราผู้โดยสาร 128 ที่นั่ง
* '''เครื่องยนต์''': เทอร์โบเจ๊ต รอลส์-รอยซ์/สเนคมา โอลิมปัส 593 หมายเลข 610 ให้แรงขับเครื่องละ 17,260 กิโลกรัม และเพิ่มแรงขับอีก 17% เมื่อใช้สันดาปท้าย จำนวน 4 เครื่อง พร้อมเครื่องเก็บเสียง และ อุปกรณ์กลับแรงขับ
* '''กางปีก''': 25.60 เมตร
บรรทัด 33:
* '''น้ำหนักวิ่งขึ้นสูงสุด''': 185,065 กิโลกรัม
* '''น้ำหนักร่อนลงสูงสุด''': 111,130 กิโลกรัม
* '''อัตราเร็วเดินทางขั้นสูง''': 2.04180 มัค (2179กิโลเมตร/ชั่วโมง)
* '''อัตราไต่ที่ระดับน้ำทะเล''': 1,525 เมตร
* '''เพดานบินใช้งาน''': ประมาณ 18,29012 เมตรกิโลเมตร/ชั่วโมง
* '''อัตราเร็ววิ่งขึ้น''': 397300 กิโลเมตร/ชั่วโมง
* '''อัตราเร็วร่อนลง''': 300180 กิโลเมตร/ชั่วโมง
* '''ระยะทางวิ่งขึ้นพ้น 10.7 เมตร''': 3,410 เมตร
* '''ระยะทางร่อนลงจาก 10.7 เมตร''': 2,220 เมตร
* '''พิสัยบิน''': 4,900 กิโลเมตร เมื่อมีภารกรรมบรรทุกสูงสุด
** 7,215 กิโลเมตร เมื่อบรรทุกเชื้อเพลิงสูงสุด
<ref name="คองคอร์ด">อภิวัตน์ โควินทรานนท์,อากาศยาน1979ฉบับเครื่องบิน,เอวิเอชั่น ออบเซิร์ฟเวอร์,กรุงเทพ,2522</ref>
 
== คองคอร์ดในประเทศไทย ==
เครื่องบินคองคอร์ด เคยลงจอดที่[[ท่าอากาศยานกรุงเทพ]]หลายครั้ง และเคยมีเที่ยวบินพิเศษ [[ท่าอากาศยานกรุงเทพ|กรุงเทพ]]-[[ท่าอากาศยานเชียงใหม่|เชียงใหม่]] เมื่อเดือน[[ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2542]] <ref>http://www.thaiflight.com/mach/modules.php?name=Forums&file=viewtopic&p=182417&highlight=</ref>
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{คอมมอนส์|Concorde}}
เส้น 55 ⟶ 48:
[[หมวดหมู่:อากาศยานเชิงพาณิชย์]]
{{โครงคมนาคม}}
 
{{Link FA|af}}
{{Link FA|hr}}
{{Link FA|zh}}
{{Link GA|en}}