ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วรรณกรรม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Addbot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 159 interwiki links, now provided by Wikidata on d:q8242 (translate me)
ป้ายระบุ: ลบลิงก์ข้ามภาษา
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เพิ่มข้อความไม่เป็นวิกิขนาดใหญ่
บรรทัด 21:
มีความหมายตามนัยยะ หมายถึง กรรม ที่เกิดขึ้นจากต่างคน ต่างวรรณะ หมายความว่า วรรณะหรือชนชั้นต่างกันก็จะใช้คำต่างกัน คำคำนี้ มีปรากฏขึ้นครั้งแรกใน[[พระราชบัญญัติคุ้มครองวรรณกรรมและศิลปกรรม พ.ศ. 2475]] คำว่า ''วรรณกรรม'' อาจเทียบเคียงได้กับคำภาษาอังกฤษว่า Literary work หรือ general literature ความหมายแปลตามรูปศัพท์ว่า ทำให้เป็นหนังสือ ซึ่งดูตามความหมายนี้แล้วจะเห็นว่ากว้างขวางมาก
นั่นก็คือการเขียนหนังสือจะเป็นข้อความสั้น ๆ หรือเรื่องราวสมบูรณ์ก็ได้ เช่น ข้อความที่เขียนตามใบปลิว ป้ายโฆษณาต่าง ๆ ตลอดไปจนถึงบทความ หรือ [[หนังสือ]]ที่พิมพ์เป็นเล่มทุกชนิด เช่น ตำรับตำราต่าง ๆ [[นวนิยาย]] [[กาพย์]] [[กลอน]]ต่าง ๆ ก็ถือเป็นวรรณกรรมทั้งสิ้น จากลักษณะกว้าง ๆ ของวรรณกรรม สามารถทำให้ทราบถึงคุณค่ามากน้อยของวรรณกรรมได้โดยขึ้นอยู่กับ ''วรรณศิลป์'' คือ ศิลปะในการแต่งหนังสือนั้นเป็นสำคัญ ถ้าวรรณกรรมเรื่องใดมีคุณค่าทางวรรณศิลป์สูง เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปว่าเป็นหนังสือดี วรรณกรรมก็อาจได้รับยกย่องว่าเป็น [[วรรณคดี]] อย่างไรก็ตามการที่จะกำหนดว่า วรรณกรรมเรื่องใดควรเป็นวรรณคดีหรือไม่นั้น ต้องคำนึงถึงระยะเวลาที่แต่งหนังสือนั้นยาวนานพอควรด้วย เพื่อพิสูจน์ว่าคุณค่าของวรรณกรรมนั้นเป็นอมตะ เป็นที่ยอมรับกันทุกยุคทุกสมัยหรือไม่ เพราะอาจมีวรรณกรรมบางเรื่องที่ดีเหมาะสมกับระยะเวลาเพียงบางช่วงเท่านั้น ดังนั้นอาจสรุปได้ว่า วรรณคดีนั้นก็คือวรรณกรรมชนิดหนึ่งนั่นเอง กล่าวคือ เป็นวรรณกรรมที่กลั่นกรองและตกแต่งให้ประณีต มีความเหมาะสมในด้านต่าง ๆ อันเป็นคุณค่าของการประพันธ์ หรือจะกล่าวอีกนัยหนึ่ง วรรณคดีนั้นเป็นวรรณกรรมไม่จำเป็นต้องเป็นวรรณคดีเสมอไป
 
 
Report of Study subjects
เลือกไซต์นี้
หน้าแรกของรายงาน
คำนำ
สารบัญ
บทที่ 1 วรรณกรรมไทยปัจจุบัน
-ประเภทของวรรณกรรมไทย
-ลักษณะของวรรณกรรมไทย
-วิวัฒนาการของวรรณกรรมไทย
บทที่ 2 วรรณกรรมแนวการเมืองของไทย
-กำเนิดวรรณกรรมแนวการเมืองของไทย
-ความหมายการเมือง
-ความหมายการใช้ภาษาในวรรณกรรมการเมือง
-ความหมายภาษา
-ความหมายวรรณกรรม
-วรรณกรรมกับการเมือง
บทที่ 3 การใช้ภาษาในวรรณกรรมการเมืองของวินทร์เลียววาริณ
-ประวัติวินทร์ เลียววาริณ
-ลักษณะเด่นในวรรณกรรมแนวการเมืองของวินทร์ เลียววาริณ
-วรรณกรรมแนวการเมืองของวินทร์ เลียววาริณ
บทที่ 4 เรื่องสั้นแนวการเมืองของวินทร์ เลียววาริณ
-ความเป็นมาของเรื่องสั้น
-วิธีการอ่านและประเมินค่าเรื่องสั้น
-สุนัขาธิปไตย
-องค์ประกอบของเรื่องสั้น
-อาเพศกำสรวล
บทที่ 5 นวนิยายแนวการเมืองของวินทร์ เลียววาริณ
-ความเป็นมาของนวนิยาย
-ประชาธิปไตยบนเส้นขนาน
-วิธีการอ่านและประเมินค่านวนิยาย
บทที่ 6 สรุปการเขียนวรรณกรรมแนวการเมืองของวินทร์ เลียววาริณ
-มุมมองของนักเขียน นักวิชาการต่อวรรณกรรมแนวการเมืองของวินทร์ เลียววาริณ
-มุมมองของวินทร์ เลียววาริณ ต่อคำวิจารณ์
-มุมมองผู้เขียนต่อวรรณกรรมแนวการเมืองของวินทร์ เลียววาริณ
บรรณานุกรม
เว็บไซต์ผู้เขียน
แผนผังไซต์
บทที่ 1 วรรณกรรมไทยปัจจุบัน‎ > ‎
 
-ลักษณะของวรรณกรรมไทย
วรรณกรรมไทยปัจจุบันมีลักษณะเด่น 4 ประการ
1.รูปแบบ วรรณกรรมไทยปัจจุบันมีรูปแบบการแต่งที่ขยายตัวมากขึ้น
1.)ร้อยกรอง
2.)เรื่องสั้น
3.)นวนิยาย
4.)บทละครพูด
5.)เป็นการเขียนร้อยแก้วที่มุ่งเน้นข้อเท็จจริงหรือความคิดเห็นเป็นอันดับแรก
2.แนวคิดหรือปรัชญาของเรื่อง
วรรณกรรมไทยปัจจุบันนิยมนำเสนอแนวคิดตามแนวปรัชญาของวรรณกรรมตะวันตก
3.เนื้อหา
เนื้อหาวรรณกรรมไทยปัจจุบันจะเป็นเรื่องราวของสามัญชน ซึ่งมีสภาพชีวิตความเป็นอยู่ในสังคมเสมือนจริง
4.กลวิธีในการแต่ง
ปัจจุบันวรรณกรรมไทยมีกลวิธีการแต่งที่ชวนให้น่าติดตามอย่างมากมาย โดยกลวิธีต่างเหล่านี้ ไทยเราได้รับอิทธิจากกลวิธีการแต่งของตะวันตกมาทั้งนั้น
 
 
== ประเภทของวรรณกรรม ==