ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าจอมมารดาทิพเกษร ในรัชกาลที่ 5"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pee26095 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Pee26095 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Infobox Person
'''เจ้าจอมมารดาเจ้าทิพเกษร''' ในรัชกาลที่ 5 เป็นธิดาของเจ้าสุริยะ ณ เชียงใหม่ (โอรสเจ้าหนานมหาวงศ์ ณ เชียงใหม่) กับ เจ้าสุวรรณา ณ เชียงใหม่ (ธิดาในเจ้าอุตรการโกศล (น้อยมหาพรหม ณ เชียงใหม่)) ซึ่งทั้งสองท่านนับเป็นเจ้านายฝ่ายเหนือแห่ง "[[ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์|ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ (เจ้าเจ็ดตน)]]"
| name = เจ้าจอมมารดาทิพเกษร<br>ในรัชกาลที่ 5
| image =
| caption =
| birth_name = เจ้าทิพเกษร ณ เชียงใหม่
| birth_date = {{เทาเล็ก|ไม่ปรากฏ}}
| birth_place =
| residence =
| death_date = [[3 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2445]]
| death_place =
| nationality =
| known_for =
| employer =
| occupation =
| height =
| term =
| parents = เจ้าสุริยะ ณ เชียงใหม่<br>เจ้าสุวรรณา ณ เชียงใหม่
| spouse = [[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
| children = [[กรมหมื่นสรรควิสัยนรบดี|พระองค์เจ้าชายดิลกนพรัฐ]]
| relatives =
| signature =
| website =
| footnotes =
}}
'''เจ้าจอมมารดาเจ้าทิพเกษร''' ในรัชกาลที่ 5 เป็นธิดาของเจ้าสุริยะ ณ เชียงใหม่ (โอรสเจ้าหนานมหาวงศ์ ณ เชียงใหม่) กับ เจ้าสุวรรณา ณ เชียงใหม่ (ธิดาในเจ้าอุตรการโกศล (น้อยมหาพรหม ณ เชียงใหม่)) ซึ่งทั้งสองท่านนับเป็นเจ้านายฝ่ายเหนือแห่ง "[[ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์|ราชวงศ์ทิพย์จักราธิวงศ์ (เจ้าเจ็ดตน)]]"<ref>[http://www.globalgroup.in.th/encyclopedia_lanna1_01.html รายพระนาม นาม เหล่าพระประยูรญาติ และ เชื้อสายเจ้านายฝ่ายเหนือ]</ref>
 
== เข้ารับราชการฝ่ายใน ==
เจ้าอุตรการโกศล (น้อย มหาพรหม ณ เชียงใหม่) ซึ่งเป็นโอรสใน[[พระเจ้ามโหตรประเทศ]] เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่คนที่ 5 และเป็นปู่ของเจ้าทิพเกษร ได้พาท่านเข้าเฝ้าถวายเป็นบาทบริจาริกาใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เมื่อ[[พ.ศ. 2434]]<ref>เจฟฟี่ ไฟน์สโตน. ''จุฬาลงกรณ์ราชสันตติวงศ์ พระบรมราชวงศ์แห่งประเทศไทย''. กรุงเทพฯ:พิษณุโลกการพิมพ์. 2532</ref> และทรงโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าทิพเกษรไปศึกษาขนบธรรมเนียมประเพณีอยู่ในสำนักของ[[เจ้าจอมมารดาแพ]] ผู้เป็นพระสนมเอกผู้ใหญ่ และยังโปรดเกล้าฯ ให้ เจ้าพระยานรรัตนราชมานิต (โต มานิตยกุล) เป็นผู้อภิบาลดูแลเจ้าทิพเกษร
 
ต่อมาท่านได้ประสูติกาลพระราชโอรสใน[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] จึงมีฐานันดรศักดิ์เป็น '''"เจ้าจอมมารดาทิพเกษร"''' โดยพระราชโอรสของท่าน คือ
เส้น 25 ⟶ 49:
|4= เจ้าหนานมหาวงศ์ ณ เชียงใหม่
|5= เจ้าบุญนำ ณ เชียงใหม่
|6= เจ้าอุตรการโกศล (น้อยมหาพรหม ณ เชียงใหม่)
|7=
|8= '''[[พระเจ้าบรมราชาธิบดีกาวิละ]]''' เจ้าผู้ครองนครเชียงใหม่ องค์ที่ 1
เส้น 54 ⟶ 78:
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
<references/>
* {{อ้างหนังสือ
|ผู้แต่ง= สาระ มีผลกิจ
|ชื่อหนังสือ= ราชสำนักฝ่ายในสมัยรัตนโกสินทร์
|จังหวัด=กรุงเทพฯ
|พิมพ์ที่=มิวเซียมเพรส
|ปี=2551
|ISBN=9744516817
|จำนวนหน้า=296
}}
 
* {{อ้างหนังสือ
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
|ผู้แต่ง= ส.พลายน้อย
* ปราณี ศิริธร ณ พัทลุง. '''เพ็ชร์ล้านนา'''. (ครั้งที่ ๒) เชียงใหม่ :ผู้จัดการ ศูนย์ภาคเหนือ, ๒๕๓๘.
|ชื่อหนังสือ=พระบรมราชินีและเจ้าจอมมารดาแห่งราชสำนักสยาม
* คัมภีร์ คัมภีรญาณนนท์ , นาวาอากาศเอก. [http://www.globalgroup.in.th/encyclopedia_lanna.html '''เจ้านายฝ่ายเหนือ''']
|จังหวัด=กรุงเทพ
|พิมพ์ที่=สำนักพิมพ์ฐานบุ๊คส์
|ปี= ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2554
|ISBN=9786167058580
|จำนวนหน้า=368
}}
 
* {{อ้างหนังสือ
|ผู้แต่ง= ปราณี ศิริธร ณ พัทลุง
|ชื่อหนังสือ=เพ็ชร์ล้านนา
|จังหวัด=เชียงใหม่
|ปี= ครั้งที่ 2 พ.ศ. 2538
}}
 
{{สมเด็จพระบรมราชินีนาถ และ พระภรรยาเจ้า ใน รัชกาลที่ ๕}}