ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วิศวกรรมไฟฟ้า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Addbot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 10 interwiki links, now provided by Wikidata on d:q43035 (translate me)
ป้ายระบุ: ลบลิงก์ข้ามภาษา
Robosorne (คุย | ส่วนร่วม)
แจ้งลิงก์ข้ามภาษา +เก็บกวาดทันใจด้วยสจห.
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
{{รอการตรวจสอบ}}
'''วิศวกรรมไฟฟ้า''' ({{lang-en|Electrical Engineering}}) เป็นสาขาที่ศึกษาทฤษฏีและการประยุกต์ใช้ [[ไฟฟ้า]], [[คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า]] ผู้ที่ประกอบวิชาชีพในสาขานี้เรียกว่า '''วิศวกรไฟฟ้า''' สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าเป็นสาขาที่กว้างประกอบไปด้วยหลายสาขาย่อย
เส้น 20 ⟶ 21:
 
== ประวัติ การศึกษาวิศวกรรมไฟฟ้า ในประเทศไทย ==
การศึกษาในสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า เริ่มต้นที่ [[คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] ในปี พ.ศ. 2476 คณะเริ่มเปิดสอนหลักสูตรปริญญาบัณฑิต ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า ได้รับความช่วยเหลือจาก[[มูลนิธิร็อคกีเฟลเลอร์ร็อกกีเฟลเลอร์]] โดยทางมูลนิธิ ได้ส่ง ดร.ชารล เอม.สัน. เกวอรฺต ชาวสวีเดน ซึ่งได้รับปริญญาวิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า จาก[[สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตส์]] สหรัฐอเมริกา มาช่วยจัดหลักสูตรการสอน และเป็นหัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าไปด้วย ในปี พ.ศ. 2478 ก็มีผู้จบการศึกษาและเข้ารับพระราชทานปริญญาวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า เป็นครั้งแรก จำนวน 12 คน ซึ่งต่อมาสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (ปัจจุบันคือ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี) และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน และ ได้เปิดสอนหลักสูตรวิศวกรรมไฟฟ้าตามมาเป็นลำดับ 2 และ 3 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ได้เปิดหลักสูตรระดับปริญญาเอก เป็นแห่งแรกของประเทศไทย
[[ไฟล์:Gewertz.jpg|thumb|left|100px|[[ชารล เอม.สัน. เกวอร์ต]]]]
 
เส้น 48 ⟶ 49:
 
[[ไฟล์:PExdcr01CJC.jpg|thumb|right|150px]]
ในปัจจุบันวงจรอิเล็กทรอนิกส์เป็นจำนวนมากนั้นจะอยู่ในรูป ที่เรียกว่า วงจรรวม (integrated circuit) ซึ่งวงจรทั้งหมดนั้นจะถูกสร้างอยู่บนแผ่นสารกึ่งตัวนำ เรียก ชิพ (chip) การออกแบบวงจรรวมนี้ นอกจากการออกแบบตัววงจรแล้ว ยังรวมไปถึงการแปลงแผนภูมิวงจร (schematic) ให้อยู่ในรูปแผนภูมิเพื่อการสร้างบนแผ่นสารกึ่งตัวนำ (layout) กระบวนการในการผลิต วงจรรวมก็เป็นสาขาย่อยหนึ่งที่สำคัญในปัจจุบัน เนื่องมาจากเทคโนโลยีในการผลิตนี้ (''ดู [[photolithography]]'') เป็นเทคโนโลยีที่ใช้ในการผลิตอุปกรณ์ในขนาดที่เล็กมากเป็น ไมโครเมตร หรือ นาโนเมตร
 
นอกจากนั้นเทคโนโลยีนี้ยังเกี่ยวข้องเทคโนโลยีร่วมระหว่างสาขาไฟฟ้าและ เครื่องกล คือ [[ไมโครเทคโนโลยี]] (MEMS) ซึ่งเป็นการออกแบบอุปกรณ์กลไกขนาดไมโครเมตร ในวงจรรวม