ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง โรจนกุล)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Quantplinus (คุย | ส่วนร่วม)
Quantplinus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Infobox Person
'''เจ้าพระยาพิษณุโลก''' (พ.ศ. 226? - พ.ศ. 2311) ''(เขียนแบบเก่า "เจ้าพระยาพิศณุโลก")'' เดิมชื่อ "'''เรือง'''" หรือ "'''บุญเรือง'''" <ref name="refphisanulok_0">[http://www.sammajivasil.net/sripen/sriphen.htm ชูศักดิ์ ศรีเพ็ญ, พลโท, และคณะ. บันทึกพระยาสัจจาภิรมย์อุดมราชภักดี (สรวง ศรีเพ็ญ) "เล่าให้ลูกฟัง". สืบค้น เมษายน, 2555]</ref> และปรากฏอีกนามว่า “'''เมฆ'''” <ref>คุณหญิงเจือ นครราชเสนี. ประวัติ[[เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)]] สมุหนายก รัชกาลที่ 3. กรุงเทพ, 30 เมษายน 2504.</ref> ซึ่งก็คือบุคคลคนเดียวกัน เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) เป็นเจ้าพระยามหานครผู้ครองหัวเมืองชั้นเอก เมืองพิษณุโลก มีราชทินนามขุนนางตามที่ปรากฏในทำเนียบ[[พระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน นาทหาร หัวเมือง]] พ.ศ. 1998 ว่า “ '''เจ้าพระยาสุรสีห์พิศณุวาธิราช ชาติพัทยาธิเบศราธิบดี อภัยพิริยบรากรมภาหุ''' ” <ref name="refphisanulok_0"/><ref>เป็นราชทินนานามสำหรับเจ้าพระยาหรือพระญาติพระวงศ์ครองเจ้าเมืองชั้นเอก เมืองพิษณุโลก ปรากฏในมลเฑียรบาลเรียกว่า นา 10000 กินเมืองทั้ง 4 ฝ่าย หรือ ท้าวพระยาหัวเมืองทั้ง 4</ref><ref>พิเศศ บูรณะสมบัติ. 2547. ประวัติศาสตร์การปกครองของไทย (ตั้งแต่สมัยเริ่มแรกถึงเปลี่ยนเป็นประชาธิปไตย พ.ศ. 2475). กรุงเทพฯ : รวมสาส์น (1977).</ref><ref>ขุนนางชั้นเอกของราชอาณาจักรที่มีศักดิระดับนา 10000 ในสมัยอยุธยายังแบ่งเป็น เอกอุ หรือ เอกอุตม (เอกสมบูรณ์) เอกม. หรือ เอกมัธยม (เอกระดับกลาง) และ เอกส. หรือ เอกสามัญ (เอกสามัญ)</ref> เจ้าเมืองพิษณุโลกเอกอุหรือเจ้าเมืองขุนนางระดับ นา 10000 เอกอุ (นา 10000 ชั้นสูงสุด) ถือศักดินา 10000 บิดาของเจ้าพระยาพิษณุโลก เป็นพราหมณ์ชื่อ '''พราหมณ์ศิริวัฒนะ''' ราชปุโรหิตในสมัย[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช|สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 3]] (พ.ศ. 2199 – พ.ศ. 2231) ราชวงศ์ปราสาททองแห่งกรุงศรีอยุธยา และเจ้าพระยาพิษณุโลกเป็นต้นสกุล “ [[โรจนกุล]] ” <ref>นามสกุลพระราชทาน. พระราชวังพญาไท. หมวด ร. ลำดับที่ 368 </ref>
| name = เจ้าพระยาพิษณุโลก<br>(เรือง โรจนกุล)
| image =
| caption =
| birth_name =
| birth_date = พ.ศ. 226?
| birth_place =
| death_date = พ.ศ. 2311
| death_place = [[พิษณุโลก]]
| residence =
| nationality =
| known_for =
| employer =
| occupation = ผู้สำเร็จราชการแทน หัวเมืองชั้นเอก
| height =
| term =
| parents = [[พราหมณ์ศิริวัฒนะ]]
| spouse = ท่านผู้หญิงเชียง
| children = [[เจ้าพระยานเรนทราภัย (บุญเกิด)]]<br>
[[เจ้าพระยาสุรินทรภักดี (บุญมี)]]<br>
 
[[เจ้าพระยาชำนาญบริรักษ์ (อู่)]]
| relatives =
| signature =
| website =
| footnotes =
}}
 
 
'''เจ้าพระยาพิษณุโลก''' (พ.ศ. 226? - พ.ศ. 2311) ''(เขียนแบบเก่า "เจ้าพระยาพิศณุโลก")'' เดิมชื่อ "'''เรือง'''" หรือ "'''บุญเรือง'''" <ref name="refphisanulok_0">[http://www.sammajivasil.net/sripen/sriphen.htm ชูศักดิ์ ศรีเพ็ญ, พลโท, และคณะ. บันทึกพระยาสัจจาภิรมย์อุดมราชภักดี (สรวง ศรีเพ็ญ) "เล่าให้ลูกฟัง". สืบค้น เมษายน, 2555]</ref> และปรากฏอีกนามว่า '''เมฆ''' <ref>คุณหญิงเจือ นครราชเสนี. ประวัติ[[เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)]] สมุหนายก รัชกาลที่ 3. กรุงเทพ, 30 เมษายน 2504.</ref> ซึ่งก็คือบุคคลคนเดียวกัน เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) เป็นเจ้าพระยามหานครผู้ครองหัวเมืองชั้นเอก เมืองพิษณุโลก มีราชทินนามขุนนางตามที่ปรากฏในทำเนียบ[[พระไอยการตำแหน่งนาพลเรือน นาทหาร หัวเมือง]] พ.ศ. 1998 ว่า “ '''เจ้าพระยาสุรสีห์พิศณุวาธิราช ชาติพัทยาธิเบศราธิบดี อภัยพิริยบรากรมภาหุ''' ” <ref name="refphisanulok_0"/><ref>เป็นราชทินนานามสำหรับเจ้าพระยาหรือพระญาติพระวงศ์ครองเจ้าเมืองชั้นเอก เมืองพิษณุโลก ปรากฏในมลเฑียรบาลเรียกว่า นา 10000 กินเมืองทั้ง 4 ฝ่าย หรือ ท้าวพระยาหัวเมืองทั้ง 4</ref><ref>พิเศศ บูรณะสมบัติ. 2547. ประวัติศาสตร์การปกครองของไทย (ตั้งแต่สมัยเริ่มแรกถึงเปลี่ยนเป็นประชาธิปไตย พ.ศ. 2475). กรุงเทพฯ : รวมสาส์น (1977).</ref><ref>ขุนนางชั้นเอกของราชอาณาจักรที่มีศักดิระดับนา 10000 ในสมัยอยุธยายังแบ่งเป็น เอกอุ หรือ เอกอุตม (เอกสมบูรณ์) เอกม. หรือ เอกมัธยม (เอกระดับกลาง) และ เอกส. หรือ เอกสามัญ (เอกสามัญ)</ref> เจ้าเมืองพิษณุโลกเอกอุหรือเจ้าเมืองขุนนางระดับ นา 10000 เอกอุ (นา 10000 ชั้นสูงสุด) ถือศักดินา 10000 บิดาของเจ้าพระยาพิษณุโลก เป็นพราหมณ์ชื่อ '''พราหมณ์ศิริวัฒนะ''' ราชปุโรหิตในสมัย[[สมเด็จพระนารายณ์มหาราช|สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 3]] (พ.ศ. 2199 – พ.ศ. 2231) ราชวงศ์ปราสาททองแห่งกรุงศรีอยุธยา และเจ้าพระยาพิษณุโลกเป็นต้นสกุล "[[โรจนกุล]] ” <ref>นามสกุลพระราชทาน. พระราชวังพญาไท. หมวด ร. ลำดับที่ 368 </ref>
 
== ประวัติด้านครอบครัว และเชื้อสาย ==
เส้น 13 ⟶ 42:
* เจ้าพระยาสุรินทรภักดี (บุญมี)
* เจ้าพระยาชำนาญบริรักษ์ (อู่)
ต่อมาเจ้าพระยาชำนาญบริรักษ์ได้รับตำแหน่งเป็นเจ้าพระยามหาอุปราช เป็นต้นสายสกุลหลายสกุลเช่น [[หลวงอาสาสำแดง (แตง)|ราชินิกุลสุจริตกุล]] [[เจ้าพระยาสุรินทราชา (จันทร์ จันทโรจวงศ์)|สกุลจันทโรจวงศ์]] สกุลบุรณศิริ สกุลภูมิรัตน สกุลชัชกุล และสกุลศิริวัฒนกุล นอกจากนี้เจ้าพระยาพิษณุโลกยังมีน้องชายซึ่งไม่ปรากฏว่าเกี่ยวข้องกับเชื้อสายชื่อ พระอินทร์อากร แต่เกี่ยวข้องกับเจ้าพระยาพิษณุโลก ขณะยึดหัวเมืองพิษณุโลกแล้วตั้งตนเป็นกษัตริย์ ในชุมนุมใหญ่หลัง[[การเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง]] <ref>สภาพจลาจลหลังการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่สอง ราวปี พ.ศ. 2311</ref> ต่อมาเจ้าพระยานเรนทราภัย (บุญเกิด) มีบุตรคือ[[หลวงพิสณฑ์ยุทธการ (ปึก โรจนกุล)|นายพันโท หลวงพิสณฑ์ยุทธการ (ปึก โรจนกุล)]] ซึ่งรับราชการทหาร กรมทหารบกในสมัยกรุงธนบุรีจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ได้รับยศนายพันโท บรรดาศักดิ์ชั้นหลวงเป็นบรรดาศักดิ์สุดท้าย ต่อมานายพันโท หลวงพิสณฑ์ยุทธการ (ปึก) มีบุตรคือ[[หลวงลิขิตปรีชา (ปลอบ โรจนกุล)|หลวงลิขิตปรีชา (ปลอบ)]] เจ้ากรมพระอาลักษณ์ ส่วนทายาทกรุงรัตนโกสินทร์ในสมัยปัจจุบันคือ หลวงวิโรจน์รัฐกิจ (เปรื่อง) รองอำมาตย์โท ขุนโรจนกุลประพัทธ์ (ปอน) และศรีชัย โรจนกุล (แป้น) ชาวจังหวัดพิษณุโลกที่ดำรงบรรดาศักดิ์ชั้น "นาย" เป็นคนสุดท้าย ขณะที่บิดา - มารดาเข้าถวายรับใช้[[สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า]] [[วังสระปทุม]] ก่อน[[การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475]]
 
== ราชการและบรรดาศักดิ์ ==
เส้น 75 ⟶ 104:
วันอาทิตย์ เดือน 9 แรม 7 ค่ำ เมื่อตีเมืองสวางคบุรีได้แล้ว มีชาวเมืองสวางคบุรีส่วนหนึ่งหนีขึ้นไปล้านนา ส่งผลให้ "'''โปมะยุง่วน'''" ขุนนางพม่าเชื้อพระวงศ์ เป็นอุปราชอาณาจักรล้านนา เจ้าผู้ครองเมืองเชียงใหม่ขณะนั้นทรงทราบสถานการณ์แล้วว่า [[สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี]]สามารถรวบรวมประเทศเป็นอาณาจักรเดียวกันเรียบร้อยแล้วนับจากวันที่เริ่มกอบกู้อาณาจักร 6 พฤศจิกายน 2310 เป็นเวลานาน 2 ปี 10 เดือน <ref name="refphisanulok_1"/>
 
== นามสถานที่ที่เกี่ยวข้อง ==
* ถนนเจ้าพระยาพิษณุโลก อำเภอเมือง จังหวัด[[พิษณุโลก]]
 
* ซอยโรจนกุล ตำบลคลองด่าน อำเภอ[[บางบ่อ]] จังหวัด[[สมุทรปราการ]]
 
== อ้างอิง ==