ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปรมัตถธรรม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
สิริชาตะ (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขความหมายของปรมัตถธรรม ให้ถูกต้องยิ่งขึ้น เพื่อประโยชน์ของผู้สนใจ
สิริชาตะ (คุย | ส่วนร่วม)
ให้ความหมาย ความเข้าใจ ที่ชัดเจนขึ้นกว่าเดิม
บรรทัด 1:
{{พุทธศาสนา}}
'''ปรมัตถธรรม''' คือ สภาพธรรมที่มีจริง เป็นอภิธรรม (อภิธรรม คือ ธรรมที่ยิ่งใหญ่ เพราะเป็นอนัตตา ไม่อยู่ในอำนาจบังคับบัญชาของผู้ใด) เป็นสภาพธรรมที่เป็นไปตามเหตุปัจจัย แม้พระสัมมาสัมพุทธเจ้าจะไม่ประสูติและตรัสรู้ สภาพธรรมทั้งหลายก็ย่อมเป็นไปตามเหตุปัจจัยอยู่แล้ว พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงเป็นพระบรมศาสดา เพราะพระองค์ทรงตรัสรู้ธรรมทั้งปวงด้วยพระองค์เองว่า ธรรมทั้งปวงไม่ใช่ตัวตน ไม่ใช่สัตว์ ไม่ใช่บุคคล และธรรมทั้งปวงไม่อยู่ในอำนาจบังคับบัญชาของผู้ใดทั้งสิ้น ปรมัตถธรรมหรืออภิธรรมนั้น มิใช่ธรรมที่เหลือวิสัยที่จะเข้าใจได้ เพราะปรมัตถธรรมเป็นธรรมที่มีจริง ฉะนั้น ความเห็นถูก ความเข้าใจถูก จึงเป็นการรู้ความจริงของปรมัตถธรรม ตามลักษณะของปรมัตถธรรมนั้นๆ
'''ปรมัตถธรรม''' คือ สภาพธรรมที่มีอยู่จริง สภาพของรูปนามที่เป็นองค์ธรรมอันประเสริฐ ไม่มีการผิดแปลกผันแปรอย่างไร และเป็นธรรมที่เป็นประธานในอัตถบัญญัติและนามบัญญัติ ชื่อว่า ปรมัตถ์ [[สภาวะ]]ระดับพื้นฐานที่สุดที่มีอยู่จริง หรืออาจกล่าวว่าเป็นสภาวะอันประเสริฐก็ได้ เพราะหากใคร่ครวญในสภาวะเหล่านี้แล้ว ก็สามารถบรรลุ[[อริยธรรม]]ได้
 
#ปรมัตถธรรม มี 2 ประเภท คือ รูปธรรม และ นามธรรม (หรือ รูป และ นาม) 1 รูปธรรม เป็นสภาพธรรมที่ไม่รู้อารมณ์ 2 นามธรรม เป็นสภาพธรรมที่รู้อารมณ์ (อารมณ์ คือ สิ่งที่ปรากฎ และรู้ได้ เป็นได้ทั้ง รูปธรรม และนามธรรม เมื่อจิตเกิดขึ้นรู้สิ่งใด สิ่งที่จิตรู้นั้น ภาษาบาลีเรียกว่า อารมฺมณ หรือ อาลมฺพน)
ปรมัตถธรรม แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ รูปธรรม และ นามธรรม (หรือ รูป และ นาม)
1 รูปธรรม เป็นสภาพไม่รู้อารมณ์
2 นามธรรม เป็นสภาพรู้อารมณ์
(อารมณ์ คือ สิ่งที่ปรากฎ และรู้ได้ เป็นได้ทั้ง รูปธรรม และนามธรรม)
 
#ปรมัตถธรรม แบ่งเป็นมี 4 ประเภท คือ จิด เจตสิก รูป และนิพพาน
#จิต เป็นสภาพธรรมที่เป็นใหญ่ในการรู้สิ่งที่ปรากฎ เช่น เห็น ได้ยิน เป็นต้น จิต (วิญญาณ) เป็นสภาพรู้ จิตเป็นใหญ่เป็นประธานในการรู้อารมณ์ เป็นนามธรรม มีลักษณะไตรลักษณ์ (อนิจจัง - ไม่เที่ยง ทุกขัง - ทนอยู่ไม่ได้ เกิดขึ้นแล้วต้องดับไป อนัตตา - บังคับบัญชาไม่ได้ ไม่ใช่สัตว์ บุคคล ตัวตน)
#เจตสิก เป็นสภาพธรรมอีกประเภทหนึ่งที่เกิดร่วมกับจิต รู้สิ่งเดียวกับจิต ดับพร้อมกับจิต และเกิดที่เดียวกับจิต เจตสิกแต่ละเจตสิกมีลักษณะและกิจต่างกันตามประเภทของเจตสิกนั้นๆ เจตสิกเป็นสภาพรู้อื่นๆ ที่ไม่ใช่จิต (ได้แก่ เวทนา - ความรู้สึก สัญญา - ความจำ สังขาร - ความนึกคิดปรุงแต่ง) เกิดพร้อมจิต ดับพร้อมจิต เป็นนามธรรม มีลักษณะไตรลักษณ์ (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา)
#รูป รูปเป็นสภาพไม่รู้ เช่น สี เสียง กลิ่น รส เป็นต้น เป็นรูปธรรม มีลักษณะไตรลักษณ์ (อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา)
#นิพพาน นิพพานเป็นสภาพรู้ธรรมที่ดับกิเลส เป็นสภาพดับทุกข์ นิพพานไม่ปัจจัยปรุงแต่งให้เกิดขึ้น นิพพานจึงไม่เกิดดับ นิพพานเป็นสภาพรู้ เป็นนามธรรม เป็นอนัตตา
 
ปรมัตถธรรม 3 เป็นขันธ์ 5
แยกประเภท (บางทีเรียกว่า ดวง) ดังนี้
จิตปรมัตถ์ 89 หรือ 121 ประเภท ทุกประเภท เป็น วิญญาณขันธ์
# [[จิต (ศาสนาพุทธ)|จิต]] มี 89 หรือ 121 ดวง
เจตสิกปรมัตถ์ 52 ประเภท - เวทนาเจตสิก 1 เป็น เวทนาขันธ์ - สัญญาเจตสิก 1 เป็น สัญญาขันธ์ -เจตสิก (ที่เหลือ) 50 เป็น สังขารขันธ์
# [[เจตสิก]] มี 52 ดวง
รูปปรมัตถ์ 28 ประเภท ทุกประเภทเป็นรูปขันธ์
# [[รูป]] มี 28 รูป
# [[นิพพาน]] มีเพียง 1 เท่านั้น
 
แยกประเภท (บางทีเรียกว่า ดวง) ดังนี้
# [[จิต (ศาสนาพุทธ)|จิต]] มี 89 หรือ 121 ดวงประเภท โดยพิเศษ
# [[เจตสิก]] มี 52 ดวงประเภท
# [[รูป]] มี 28 รูปประเภท
# [[นิพพาน]]
โดยจัดเป็นรูป 28 นับเป็น[[รูปธรรม]] จัดจิต 89 หรือ 121 เจตสิก 52 นิพพาน 1 เป็น[[นามธรรม]]
 
== อ้างอิง ==
ปรมัตถธรรมปรมัตถธรรมสังเขป จิตสังเขปตสังเขป และภาคผนวก โดย สุจินต์ บริหารวนเขตต์ มูลนิธิศึกษาและเผยแพร่พระพุทธศาสนา พ.ศ.2536(หรือ เว็บไซด์ บ้านธัมมะ)
คัมภีร์อภิธรรมมัตถสังคหะ
ปรมัตถธรรม จิตสังเขป โดย สุจินต์ บริหารวนเขตต์ มูลนิธิศึกษาและเผยแพร่พระพุทธศาสนา (หรือ เว็บไซด์ บ้านธัมมะ)
[[หมวดหมู่:ศาสนาพุทธ]]
[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ศาสนาพุทธ]]