ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โตโยต้า โคโรน่า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
migrateToWikidata at d:q1150087
Apple1968 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 10:
| รุ่นใกล้เคียง = [[โตโยต้า คัมรี่]]<br>[[ฮอนด้า แอคคอร์ด]]<br>[[นิสสัน เซฟิโร่]]/[[นิสสัน เทียนา|เทียนา]]<br>[[มิตซูบิชิ กาแลนต์]]<br>[[มาสด้า 626]]<br>[[ฮุนได โซนาต้า]]<br>[[โฟล์กสวาเกน พาสสาต]]<br>[[ซูบารุ เลกาซี]]<br>[[ฟอร์ด ทอรัส]]<br>[[คาดิแลค ซีทีเอส]]<br>[[เมอร์คิวรี มิลาน]]
}}
'''โตโยต้า โคโรน่า''' (Toyota Corona) เป็นรถรุ่นหนึ่งที่ [[โตโยต้า]] ผลิตขึ้น เพื่อเป็นรถครอบครัว เริ่มผลิตเมื่อ [[พ.ศ. 2500]] ซึ่งในประเทศไทย ครั้งหนึ่ง มันเคยเป็นคู่แข่งทางธุรกิจกับ [[ฮอนด้า แอคคอร์ด]] และ [[นิสสัน เซฟิโร่]] รวมถึงคู่แข่งอื่นๆ ซึ่งเป็นคู่แข่งระดับรอง เช่น [[มิตซูบิชิ กาแลนต์]] ,[[มาสด้า คาเพลลา|มาสด้า 626]] ,[[ฮุนได โซนาต้า]] ,[[ซูบารุ เลกาซี]] ,[[เปอโยต์ 405]] ,[[แดวู เอสเปอโร]] ,[[ฟอร์ด มอนดิโอ]]และ[[ซีตรอง BX]] แต่สู้ไม่ค่อยได้นัก อันเนื่องมาจากขนาดที่เล็กกว่าแอคคอร์ดและคู่แข่งอื่นๆ อยู่เล็กน้อย ดังนั้น ต่อมา โตโยต้าจึงเปลี่ยนเอา [[โตโยต้า คัมรี่]] ขึ้นมาแข่งกับแอคคอร์ดและคู่แข่งอื่นๆ แทนโคโรน่า หลังจากนั้น ก็เป็นช่วงขาลงของโคโรน่า จนในที่สุด ก็เลิกขายในประเทศไทยใน [[พ.ศ. 25412542]] และเลิกผลิตทั่วโลกถาวรไปใน [[พ.ศ. 2545]]
 
โคโรน่า โฉมที่ 1-6 จัดอยู่ในประเภท[[ประเภทของรถยนต์|รถยนต์นั่งขนาดเล็ก]] (Compact Car) และโฉมที่ 7-11 จัดอยู่ในประเภท[[ประเภทของรถยนต์|รถยนต์นั่งขนาดกลาง]] (Mid-size Car)
บรรทัด 81:
ในไทยใช้รหัสตัวถัง AT,ST171 นับได้ว่าเป็นโฉมสุดท้ายที่โคโรน่าในไทยยังเป็นรถครอบครัวที่ไม่มีคู่แข่ง
 
เจเนอเรชันนี้ มี 2 รุ่น คือ รุ่น '''โฉมหน้ายักษ์''' และรุ่น '''โฉมหน้ายิ้ม'''(ยกเว้นคนขับรถเก่ายิ้มไม่ออก) รูปที่แสดงนี้เป็นรูปโฉมหน้ายิ้ม สองรุ่นนี้ รูปทรงรถจะคล้ายกันมาก(ภาพรวม) ต่างกันในรายละเอียดหลายประการ เช่น กระจังหน้าและไฟท้าย โดยไปท้ายหน้ายิ้มจะยาวแถวเดียว หน้ายักษ์แยกเป็นสองก้อน กระจังหน้ารุ่นหน้ายิ้มออกแนวตั้ง หน้ายักษ์แนวนอน สองรุ่นยังไม่ใช้โลโก้สามห่วง ในประเทศไทยรถเครื่อง 2000 รหัส 3S จะมีน๊อตล้อ 5 ตัว ใช้รหัสตัวถัง ST171 รถเครื่อง 1600 รหัส 4A เป็นคาร์บูเรดตอร์ มีน๊อตล้อ 4 ตัวใช้รหัสตัวถัง AT171 และโตโยต้าจัดให้เป็นเจเนอเรชันเดียวกัน มีการนำโคโรน่าโฉมนี้ ไปทำแท็กซี่ในญี่ปุ่นอีกจำนวนหนึ่ง
รุ่นนี้ขายในประเทศไทยไม่ค่อยดี (เทียบกับโคโรน่าตัวหลัง) เพราะราคาแพงและอัตราการกินน้ำมันมาก โดยรถที่ขายดีช่วงเดียวกันจะเป็นโคโรล่า (โฉมโดเรม่อน) เพราะราคาถูกนอกจากนี้ โคโรล่า นำรุ่นพิเศษเครื่อง 4AGE มาใช้ รถเก่ารุ่นนี้จึงไม่ค่อยมีอะหลั่ยทดแทนต้องเบิกศูนย์ญี่ปุ่น เช่น ช่องแอร์ (ชุดละ9000) มือเปิดประตู (เกือบ 4000/ข้าง) ยางรีดน้ำ (ขอบประตู) ชุดละเกือบหมื่น ของเก่าก็ราคาสูงมาก เว้นแต่เจอของเก่า(ราคาเท่าซูโลโซลูน่าเบิกศูนย์) อะหลั่ยเก่าบางอย่างเทียบกับคราวได้ แต่ต้องมีช่างที่ชำนาญ เช่นสวิทย์สวิตช์กระจก ข้อดีของรถรุ่รุ่นนี้คือเกาะถนน ในมุมมุมมองของคนซื้อราคาซื้อจะถูกกว่าโคโรโรลล่า (โฉมโดเรม่อน) และรถเก่าเฉี่ยวชนเสียหายไม่เกิน 50000 (เสียทิ้งเลย)
โฉมหน้ายักษ์เป็นรุ่นแรกของโคโรน่าที่เริ่มมีการผลิตเครื่องยนต์ระบบหัวฉีดในไทย(เฉพาะเครื่อง 3S ) ซึ่งเครื่องยนต์หัวฉีด จะมีข้อดีที่จะใช้น้ำมันได้คุ้มค่ายิ่งขึ้น และเครื่องเครื่องยนต์ 2000 ซีซี(3S) สามารถใช้น้ำมัน[[แก๊สโซฮอล์]] ได้ ซึ่งจะทำให้ผู้ใช้ประหยัดเงินได้มากกว่าเครื่องยนต์ระบบคาร์บูเรเตอร์แบบเก่า
{{clear}}
 
บรรทัด 93:
แต่ในประเทศอื่นๆ ที่โคโรน่าเคยเป็นที่นิยมนั้น โดยรวมในช่วงนี้ โคโรน่ามีความนิยมต่ำกว่าคัมรี่อย่างชัดเจน เมื่อหมดยุคโฉมนี้ โตโยต้าประเทศญี่ปุ่นก็ยกเลิกการส่งออกและการผลิตโคโรน่านอกประเทศญี่ปุ่นทั้งหมด ทำให้โคโรน่าโฉมที่ 11 มีขายเฉพาะในญี่ปุ่น
 
โคโรน่ารุ่นสุดท้ายที่มีขายในไทยนี้ ก็เป็นที่รู้จักไม่น้อย โดยเฉพาะโคโรน่ารุ่นพิเศษ คือ Toyota Corona Exsior เปิดตัวเมื่อปี [[พ.ศ. 2539]] ด้วยตัวรถที่กว้างใหญ่นั่งสบาย ประหยัดน้ำมัน และเป็นรถประกอบในประเทศไทยรุ่นแรกๆ ที่มีระบบความปลอดภัยครบครัน เช่น ระบบเบรก ABS ถุงลมนิรภัย จึงทำให้คู่แข่งในขณะนั้นเริ่มทยอยออกรุ่นที่มีระบบความปลอดภัยครบครัน แต่ก็ต้องระงับการผลิตไปในที่สุด
{{clear}}