ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไดโอด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Addbot (คุย | ส่วนร่วม)
Bot: Migrating 83 interwiki links, now provided by Wikidata on d:q11656 (translate me)
ป้ายระบุ: ลบลิงก์ข้ามภาษา
WindowMaker (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ประวัติ: "20ปีต่อมา" -> "20 ปีต่อมา"
บรรทัด 20:
เอดิสันวางแผนที่จะใช้อุปกรณ์นี้แทนที่ตัวต้านทานในวงจรโวลต์มิเตอร์กระแสตรง สิ่งประดิษฐ์ดังกล่าวได้สิทธิบัตรในปี พ.ศ. 2427<ref>Thomas A. Edison "Electrical Meter" {{US patent|307030}} Issue date: Oct 21, 1884</ref> ไม่มีใครนำอุปกรณ์นี้ไปใช้งานจริงในเวลานั้น แต่การจดสิทธิบัตรเอาไว้ก่อนนั้นเป็นเสมือนการปกป้องสิทธิ์ของตนเองเอาไว้ก่อน เราจึงเรียกปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในอุปกรณ์ตัวนี้ว่า "ปรากฏการณ์เอดิสัน" (Edison effect)
 
20 ปีต่อมา [[จอห์น แอมบรอส เฟรมมิ่ง]] (ที่ปรึกษาทางวิทยาศาสตร์ของ[[บริษัทมาร์โคนี]]ของ[[กูลเยลโม มาร์โกนี]] และเป็นอดีตลูกจ้างของเอดิสัน) ตระหนักถึงความสำคัญของปรากฏการณ์เอดิสันว่าสามารถใช้ในการตรวจจจับ[[คลื่นวิทยุ]]ได้อย่างแม่นยำ เฟรมมิ่งได้จดสิทธิบัตรไดโอดแบบใช้ความร้อนเป็นตัวแรกที่เกาะ[[บริเตน|บริเตนใหญ่]]เมื่อวันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2447<ref>{{cite web|url=http://www.jmargolin.com/history/trans.htm |title=Road to the Transistor |publisher=Jmargolin.com |date= |accessdate=2008-09-22}}</ref> (ใน {{US patent|803684}} กล่าวว่ามีการจดสิทธิบัตรในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2448)
 
ในปี พ.ศ. 2417 นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมัน [[คาร์ล เฟอร์ดินานด์ บรวน]] ค้นพบคุณสมบัติการนำไฟฟ้าข้างเดียวของผลึก<ref>[http://chem.ch.huji.ac.il/~eugeniik/history/braun.htm Historical lecture on Karl Braun]</ref> บรวนจดสิทธิบัตรการเรียงกระแสของผลึกในปี พ.ศ. 2442<ref>{{cite web|url=http://encyclobeamia.solarbotics.net/articles/diode.html |title=Diode |publisher=Encyclobeamia.solarbotics.net |date= |accessdate=2010-08-06}}</ref> โดยการเรียงตัวของผลึกคอปเปอร์ออกไซด์กับเซเลเนียมถูกนำไปประยุกต์ใช้ในงานไฟฟ้ากำลังในอีก 20 ปีต่อมา
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ไดโอด"