ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษาสิกขิม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: mk:Сикимски јазик
Saeng Petchchai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 10:
 
'''ภาษาสิกขิม''' หรือ '''ภาษาภูเตีย''' เป็นภาษาย่อยของภาษาทิเบตใต้ มีผู้พูดจำนวนหนึ่งในชุมชนภูเตีย ทางภาคเหนือของ[[สิกขิม]]ชื่อเรียกในภาษาของตนเองคือ Dranjongke (Wylie: Bras-ljongs-skad)
== อักษร ==
 
ภาษาสิกขิมเขียนด้วย[[อักษรทิเบต]] ที่ได้รับอิทธิพลจาก[[ภาษาทิเบตคลาสสิก]] แม้ว่าสัทวิทยาและรากศัพท์ของภาษาสิกขิมจะต่างจากภาษาทิเบตคลาสสิก แต่ก็มีผู้พูดภาษาสิกขิมสำเนียงภูเตียที่อ่านออกเขียนได้ด้วยอักษรทิเบตถึง 68%
 
== ภาษาสิกขิมและภาษาเพื่อนบ้าน ==
ผู้พูดภาษาสิกขิมสามารถเข้าใจ[[ภาษาซองคา]]ที่มีรากศัพท์ใกล้เคียงกัน 65% และมีความคล้ายคลึงของรากศัพท์กับ[[ภาษาทิเบตมาตรฐาน]] 42% ภาษาสิกขิมยังได้รับอิทธิพลจาก[[ภาษายัลโมวา]]และ[[ภาษาตามัง]]<ref name=BOT1>{{cite web|url=http://himalaya.socanth.cam.ac.uk/collections/journals/bot/pdf/bot_1995_01_25.pdf |format=PDF |first=S. |last=Norboo |title=The Sikkimese Bhutia |work=Bulletin of Tibetology |pages=114–115 |publisher=Namgyal Institute of Tibetology |location=[[Gangtok]] |year=1995}}</ref> เนื่องจากมีการติดต่อกับผู้พูด[[ภาษาเนปาลี]]และภาษาทิเบตอย่างใกล้ชิด ทำให้ชาวสิกขิมจำนวนมากพูดภาษานี้ได้ด้วย<ref name=SIL>{{cite web|url=http://www.ethnologue.com/show_language.asp?code=sip |title=Sikkimese |editor=Lewis, M. Paul |year=2009 |work=[[Ethnologue]]: Languages of the World |edition=16 |location=[[Dallas, Texas]] |publisher=[[SIL International]] |accessdate=2011-04-16}}</ref>
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
==ดูเพิ่ม==
*{{cite book|title=The grammar of Dzongkha |authorlink=George van Driem |last=van Driem |first=George |publisher=Dzongkha Development Commission, [[Government of Bhutan]] |year=1992 |url=http://books.google.com/books?id=0KsCYgEACAAJ}}
{{ทิเบต-พม่า}}
[[หมวดหมู่:ภาษาในประเทศอินเดีย|สิกขิม]]