ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: ro:CITES
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ซ้ำไปซ้ำมา
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:CITES-logo.jpg|thumb|250px|right|สัญลักษณ์ไซเตส]]
 
'''อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้สูญพันธุ์''' (The Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and Flora) หรือที่รู้จักคุ้นเคยดีใน[[อักษรเรียกโดยย่อ|ตัวย่อ]]ว่า '''ไซเตส''' (CITES) คือ อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าเป็นที่ใกล้จะสูญพันธุ์ มีอีกรู้จักในชื่อหนึ่งว่า '''อนุสัญญากรุงวอชิงตัน''' (Washington Convention) เริ่มมีผลบังคับใช้เมื่อเดือนเป็น[[กรกฎาคมสนธิสัญญา]]ซึ่งเริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม [[พ.ศ. 2516]]2518
 
ในปี พ.ศ. 2516 [[สหภาพนานาชาติเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติและทรัพยากรธรรมชาติ]] (IUCN) ได้จัดการประชุมนานาชาติขึ้นที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. เพื่อร่างอนุสัญญาดังกล่าว มีผู้เข้าร่วมประชุม 88 ประเทศ แต่มีผู้ลงนามรับรองอนุสัญญาฉบับนี้ทันทีเพียง 22 ประเทศ สำหรับ[[ประเทศไทย]]ได้ส่งผู้แทนเข้าร่วมประชุมด้วย แต่มาลงนามรับรองอนุสัญญาในปี [[พ.ศ. 2518]] และให้สัตยาบันในวันที่ [[21 มกราคม]] [[พ.ศ. 2526]] นับเป็นสมาชิกลำดับที่ 80 ปัจจุบัน อนุสัญญาไซเตส มีภาคีทั้งหมด 130177 ประเทศ ([[ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2538]])รัฐ
 
เป้าหมายของอนุสัญญาไซเตส คือ การอนุรักษ์ทรัพยากรสัตว์ป่าและพืชที่ใกล้จะสูญพันธุ์หรือถูกคุกคาม ทำให้ปริมาณร่อยหรอจนอาจเป็นเหตุให้สูญพันธุ์ วิธีการอนุรักษ์กระทำโดยการสร้างเครือข่ายทั่วโลกในการควบคุม[[การค้าระหว่างประเทศ]] (International Trade) ทั้งสัตว์ป่า พืชป่า และผลิตภัณฑ์ อนุสัญญาไซเตสไม่ควบคุมการค้าภายในประเทศสำหรับชนิดพันธุ์ท้องถิ่น (Native Species)