ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรคหวัด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 40:
== พยาธิสรีรวิทยา ==
[[ไฟล์:Illu conducting passages.svg|thumb|โรคหวัดเป็นโรคของ[[ทางเดินหายใจส่วนบน]]]]
อาการของโรคหวัดเชื่อว่าเกี่ยวข้องกับภูมิคุ้มกันสนองต่อไวรัสเป็นหลัก<ref name=E112>Eccles Pg. 112</ref> กลไกการตอบสนองของภูมิคุ้มกันนี้จำเพาะต่อไวรัส ตัวอย่างเช่น ธรรมดาไรโนไวรัสได้รับจากติดต่อผ่านการสัมผัสโดยตรง โดยมันตัวเชื้อจะยึดเกาะจับกับตัวรับ ICAM-1 [[รีเซพเตอร์]]ของมนุษย์ผู้ป่วย (ผ่านกลไกที่ยังไม่ทราบแน่ชัด) เพื่อแล้วกระตุ้นการปลดปล่อยสารตัวกลาง[[inflammatory mediators|สารตัวกลางการอักเสบ]] (inflammatory mediators)<ref name=E112/> จากนั้น สารตัวกลางการอักเสบเหล่านี้จะทำให้เกิดอาการ<ref name=E112/> โดยทั่วไปตัวไวรัสมิได้ก่อความเสียหายแก่[[เยื่อบุ]]จมูกแต่อย่างใด<ref name=Eccles2005/> ตรงข้ามกับ[[Human respiratory syncytial virus|ไวรัสมวลเซลล์รวมระบบหายใจเรสไพราทอรีซินไซเตียล]] (RSV) ที่ซึ่งติดต่อทั้งผ่านการสัมผัสโดยตรงและละอองจากอากาศ แล้วไวรัสจะแบ่งตัวเหมือนเดิมในจมูกและลำคอก่อนจะแพร่กระจายลงสู่[[ทางเดินหายใจส่วนล่าง]]อย่างรวดเร็ว<ref name=E116>Eccles Pg.116</ref> RSV มิได้สร้างและทำให้เกิดความเสียหายโดยตรงต่อเซลล์เยื่อบุ<ref name=E116/> [[ไวรัสพาราอินฟลูเอนซาตามปกติฟลูเอนซา]]ส่งผลให้เกิดการอักเสบในจมูก ลำคอและ[[หลอดลม]]<ref name=E122>Eccles Pg.122</ref> ในหากเด็กอ่อน เมื่อเล็กติดเชื้อเกิด[[ท่อลม]]ติดเชื้อ (trachea) อักเสบอาจทำให้เกิดอาการการของโรค[[กล่องเสียงอักเสบอุดกั้นทางเดินหายใจส่วนบน]] (croup) ได้ เพราะทางเดินอากาศหายใจมีขนาดเล็ก<ref name=E122/>
 
== การวินิจฉัย ==