ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เสือโคร่งเบงกอล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 29:
สถานะในธรรมชาติ จัดเป็นสัตว์ใกล้[[สูญพันธุ์]] เนื่องจากการถูกล่าเพื่อทำหนังเป็นเครื่องประดับ และ[[กระดูก]], อวัยวะ เป็นยา[[สมุนไพร]]ตามความเชื่อ อย่างไรก็ตาม เสือโคร่งเบงกอลนั้นนับได้ว่า เป็นเสือโคร่งชนิดที่ยังมีเหลืออยู่มากที่สุดในธรรมชาติ คาดว่ามีอยู่ประมาณ 2,000 ตัว ในธรรมชาติ ในเขตป่าอนุรักษ์และอินเดียและเนปาล และเป็นเสือที่มนุษย์นำมาเลี้ยงและขยายพันธุ์ได้มากและแพร่หลายที่สุด ในสถานที่เลี้ยง พบว่า เสือโคร่งเบงกอล เป็นเสือโคร่งที่มีความเชื่องและดุร้ายน้อยที่สุด จนสามารถฝึกหัดให้เล่น[[ละครสัตว์]]ได้<ref>[http://www.zoothailand.org/index.php?option=com_k2&view=item&id=216:%E0%B9%80%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%9A%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%AD%E0%B8%A5&Itemid=781&lang=th เสือโคร่งเบงกอล]</ref>
 
เสือโึคร่งเบงกอล ขึ้นชื่อว่าเป็นเสือโคร่งที่กินมนุษย์มาตั้งแต่อดีต โดยเฉพาะในอินเดีย การล่าเสือเป็นเกมกีฬาของราชวงศ์ชั้นสูง แม้แต่ในยุคที่อังกฤษเข้ามาปกครองอินเดีย โดยการขี่หลังช้างออกล่าในทุ่งหญ้าทั้งหญ้าสูงและหญ้าต่ำ ใน[[คริสต์ทศวรรษ 1920|คริสต์ทศวรรษที่ 20]] มีเสือโคร่งเบงกอลฆ่าชีวิตมนุษย์ไปกว่า 1,600 รายต่อปี แม้แต่ในปัจจุบันที่การล่าเสือเป็นสิ่งผิืดกฏหมาย และผู้คนเข้าใจถึงการอนุรักษ์มากขึ้น แต่ทว่าก็ยังคงมีการโจมตีมนุษย์อยู่เป็นระยะ ๆ ของเสือ<ref>''Tigers'', "Biggest & Baddest". สารคดีทางอนิมอลพลาเน็ต ทางทรูวิชั่นส์: พุธที่ 23 มกราคม 2556</ref>
 
== อ้างอิง ==