ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เส้นศูนย์สูตร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Panleek (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Panleek (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7:
มาตรความโค้งของเส้นศูนย์สูตร หรือ จีออดดิซีของเส้นศูนย์สูตร (Geodesy of the Equator) (ดูรูปในเว็บ http://www.worldatlas.com/aatlas/imagee.htm)
เส้นศูนย์สูตร หรือ อีเควเตอร์ ({{lang-enEquator|Equator}}) เป็นหนึ่งในห้าของเส้นแนวขวางหลัก ({{lang-en|Latitude}})ที่ใช้แบ่งพื้นที่สภาพอุณภูมิและอากาศของโลก ส่วนที่เหลืออีกสี่เส้นก็มีลักษณะเป็นเส้นขนานกันที่แบ่งออกเป็น
สองเส้นขนานส่วนขั้วโลก({{lang-en|Polar circle}}) คือ เส้นอาร์กติคเซอร์เคิล[[Arctic Circle]]เส้นขนานกับเส้นศูนย์สูตรที่อยู่ใกล้ขั้วโลกเหนือ และ เส้นแอนตาร์กติคเซอร์เคิล[[Antarctic Circle]]เส้นขนานกับเส้นเส้นศูนย์สูตรอยู่ใกล้ขั้วโลกใต้
สองเส้นขนานในเขตโซนร้อน[[Tropical Circle]]คือ เส้นทร๊อปิคออฟแคนเซอร์ [[Tropic of Cancer]] เส้นแนวขวางขนานและใกล้เส้นศูนย์สูตรขึ้นไปทางเหนือหรือด้านบน และ เส้นทร๊อปิคออฟแค๊พพริคอร์น[[Tropic of Capricorn]] เส้นแนวขวางที่ขนานและใกล้กับเส้นศูนย์สูตรไปทางใต้ หรือด้านล่าง
บรรทัด 18:
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Equator}}
 
{{เรียงลำดับ|เส้นศูนย์สูตร}}
 
[[หมวดหมู่:ภูมิศาสตร์]]