ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ระเบิดมือ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 5:
[[ไฟล์:F1 grenade travmatik com 02 by-sa.jpg|thumb|ระเบิดน้อยหน่า ที่นิยมใช้ในสมัย[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]]]
 
'''ระเบิดมือ''' เป็น[[วัตถุระเบิด]]ที่มีขนาดเล็ก พอเหมาะกับฝ่ามือ ใช้สำหรับโดยการดึงสลักนิรภัยและขว้างไปยังกลุ่มคนหรือสิ่งของที่เป็นเป้าหมาย เพื่อให้เป้าหมายเกิดความเสียหาย เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า '''ระเบิดขว้าง''' อย่างไรก็ตาม ระเบิดมือยังสามารถใช้ติดกับปลายกระบอก[[ปืนเล็กยาว]]เพื่อยิง หรือใช้กับเครื่องยิงระเบิดมือที่สร้างขึ้นมาเป็นพิเศษก็ได้ ตัวอย่างเช่น [[ระเบิดก๊าซน้ำตา]] ที่ใช้ควบคุมจลาจล และเครื่องยิงระเบิดมือแบบ เอ็ม 203 (M203) ที่ติดไว้ใต้ปืนเล็กยาวรุ่นใหม่
 
== ประวัติ ==
บรรทัด 14:
อย่างไรก็ตาม ระเบิดมือในยุคโบราณยังไม่ค่อยมีประสิทธิภาพมากนัก จนกระทั่งในช่วง[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] ที่เริ่มมีการพัฒนาระเบิดมือ และมีการใช้ระเบิดมืออย่างแพร่หลายในสนามรบ ระเบิดมือที่มีชื่อเสียงในช่วงนั้น คือ '''ระเบิดมิลส์''' (Mills bomb) จากประเทศอังกฤษ เป็นระเบิดมือแบบแตกกระจายรุ่นแรกๆในช่วงต้นศตวรรษที่ยี่สิบ และเป็นที่นิยมกันมากในแนวหน้าของกองทัพอังกฤษในยุคนั้น ระเบิดมิลส์ เป็นระเบิดที่มีโลหะห่อหุ้ม มีรูปร่างกลม มีเข็มแทงชนวน และมีพื้นผิวเป็นร่อง ชาวไทยจึงนิยมเรียกกันว่า [[ระเบิดน้อยหน่า]]
 
ในขณะที่ประเทศ[[อังกฤษ]]มีระเบิดมิลส์นั้น ประเทศ[[เยอรมนี]]ก็ได้มีการพัฒนาและผลิตระเบิดมือแบบมีด้ามจับขึ้นมา เรียกว่า Stielhandgranate โดยมีเชื้อประทุห่อหุ้มอยู่ในกระบอกโลหะ และติดไว้กับแกนไว้สำหรับขว้าง ระเบิดชนิดนี้มีใช้ทั้งในสมัย[[สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง]] และ[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ถัดมาได้มีการพัฒนาระเบิดมืออีกรุ่นหนึ่ง เรียกว่า [[ระเบิดขวด]]'''โมโลตอฟ คอกเทล''' (Molotov cocktail) เป็นระเบิดมือได้คล้ายกับ[[ระเบิดขวด]] ที่ใช้ขวดแก้วบรรจุน้ำมันเชื้อเพลิง แล้วชุดและใช้การจุดชนวนแถบผ้าเพื่อให้เกิดการเผาไหม้และระเบิดขึ้น ระเบิดแบบระเบิดมือชนิดนี้ใช้ครั้งแรกในกองทัพของประเทศ[[ฟินแลนด์]] ซึ่งตอนนั้นยังมียุทโธปกรณ์ที่ไม่ค่อยจะก้าวหน้ามากนัก เมื่อครั้งต้องต่อสู้กับกองทัพของ[[สหภาพโซเวียต|โซเวียต]]ในช่วง[[สงครามฤดูหนาว]] เมื่อค.ศ.โมโลตอฟ 1939คอกเทล เป็นหนึ่งในระเบิดมือไม่กี่ชนิด ที่มีคุณสมบัติในการหยุดยั้งรถถังของศัตรู โดยการขว้างโมโลตอฟ คอกเทล ให้เข้าไปกระแทกกับท่อไอเสียของรถถังที่มาจากอีกฝ่ายหนึ่ง
 
ในช่วงก่อนและระหว่าง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] มีระเบิดมือรุ่นใหม่ๆที่ถูกพัฒนาและผลิตออกมาโดยเหล่าประเทศมหาอำนาจ เพื่อความได้เปรียบในด้านการรบ เช่น ระเบิดมือรุ่น Mk 2 จากสหรัฐอเมริกา ระเบิดมือรุ่น RGD-33 จากสหภาพโซเวียต และ ระเบิดมือรุ่น Type 97 จากจักรวรรดิญี่ปุ่น เป็นต้น
บรรทัด 21:
ระเบิดมือนั้นมีด้วยกันหลายรูปร่างและขนาด จุดประสงค์ในการใช้งานที่แตกต่างกัน แต่ระเบิดมือทั้งหมดจะมีคุณลักษณะร่วมกันสองประการ คือ อย่างแรก มีโพรงข้างในเพื่อบรรจุ[[ดินระเบิด]] หรือสารระเบิด อย่างที่สองคือ มีรูเล็กๆ ที่จะสอดเข็มแทงชนวนเข้าไป
 
ระเบิดมือนั้นมีขนาดเล็ก และมีลักษณะการทำงานที่คล้ายกันมากกับ[[ประทัด]]หรือ[[ดอกไม้ไฟ]] เนื่องจากประทัดนั้นทำมาจากกระดาษห่อดินปืน และมีชนวนขนาดเล็ก เมื่อจุดไฟ ชนวนก็จะไหม้ลงไปถึง[[ดินฟืน]] และระเบิดให้กระดาษที่หุ้มกระจายออก
 
สำหรับระเบิดมือสมัยใหม่นั้น ชนวนจะเป็นอุปกรณ์ภายในเชิงกล แบบ[[อิเล็กทรอนิกส์]] หรือใช้วัตถุระเบิดด้วยก็ได้ แต่จะไม่จุดไฟจากภายนอกเช่นประทัด โดยมากจะออกแบบให้มีวัตถุคม หรือลวด หรือวัตถุไวไฟ