ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กฎบัตรสหประชาชาติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MerlIwBot (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: sl:Ustanovna listina Organizacije Združenih narodov
Exquirentius (คุย | ส่วนร่วม)
กล่องอธิบายและเพิ่มเนื้อหา
บรรทัด 1:
{{Infobox Treaty
| name = กฎบัตรสหประชาชาติ
| long_name =
| image =
| image_width = 240px
| caption = UN Charter signing ceremony
| type =
| date_drafted =
| date_signed = 26 มิถนายน พ.ศ.2488
| location_signed = [[ซานฟรานซิสโก]], [[แคลิฟอร์เนีย]], [[สหรัฐอเมริกา]]
| date_sealed =
| date_effective = 24 ตุลาคม พ.ศ.2488
| condition_effective = ให้สัตยาบันโดย[[สาธารณรัฐจีน|จีน]], [[ฝรั่งเศส]], [[สหภาพโซเวียต]], [[สหราชอาณาจักร]], [[สหรัฐอเมริกา]] และประเทศผู้ร่วมสนธิสัญญาอื่นๆ
| date_expiration =
| signatories =
| parties = 193
| depositor = สหรัฐอเมริกา
| language =
| languages = อังกฤษ ฝรั่งเศส อาราบิก จีน รัสเซีย
| wikisource = กฏบัตรสหประชาชาติ
}}
 
'''กฎบัตรสหประชาชาติ''' ({{lang-en|Charter of the United Nations}})คือข้อตกลงที่บรรดาประเทศผู้ก่อตั้งและร่วมเป็นสมาชิก[[องค์การสหประชาชาติ]]ได้ให้สัตยาบันเข้าผูกพัน โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับวัตถุประสงค์และหลักการ ตลอดจนกระบวนการดำเนินงานและบริหารงานต่างๆ ขององค์การสหประชาชาติ ถือเป็นกฎหมายระหว่างประเทศและเป็นตราสารก่อตั้งที่สถาปนาองค์การให้เกิดขึ้นอย่างเป็นทางการ
 
ด้วยเหตุนี้ องค์การสหประชาชาติจึงก่อตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ [[24 กันยายน]] [[พ.ศ. 2488]] (ค.ศ. 1945) ซึ่งเป็นวันที่[[ประเทศจีน]] [[ประเทศฝรั่งเศส]] [[สหภาพโซเวียต]] [[สหราชอาณาจักร]] [[สหรัฐอเมริกา]] และประเทศอื่นๆ ได้มีการให้สัตยาบันต่อกฎหบัตรสหประชาชาติกฎบัตรสหประชาชาติ โดยทุกประเทศที่เป็นสมาชิกสหประชาชาติจะต้องปฏิบัติตามกฏบัตรสหประชาชาติอย่างเคร่งครัด ยกเว้นเพียงแต่[[นครรัฐวาติกัน]]ที่เป็นประเทศผู้สังเกตการณ์ซึ่งเป็นข้อยกเว้น
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==