ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภอท่าแซะ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Makecat-bot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.3) (โรบอต เพิ่ม: zh:达塞渡县
บรรทัด 51:
จากตัวเมืองชุมพรใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 4 จะอยู่บริเวณริมถนนเพชรเกษมระหว่างหลัก กม. ที่ 453-454
 
; อนุสรณ์สถาน[[เจ้าพระยายมราชด่านทัพต้นไทร (ครุฑเนิน บ่วงราบ491)]]
ตั้งอยู่ บ้านปากด่าน ต.หงษ์เจริญ อ.ท่าแซะ จ.ชุมพร ขณะนี้อยู่ระหว่างการดำเนินการระดมทุนในการก่อสร้าง เพื่อเป็นเกียรติและเป็นที่เคารพสักการะของชาวชุมพรและปวงชนชาวไทย ที่ท่านเป็นปูชนียบุคคลสำคัญของประเทศชาติ การเดินทางใช้เส้นทางเดียวกันกับ เนิน 491
 
บรรทัด 57:
เป็นชื่อเรียกพื้นที่รอยต่อระหว่างพรมแดนพรมแดนไทยและสหภาพพม่าตั้งอยู่ในเขตตำบลรับร่อ อำเภอท่าแซะ โดยสถานที่แห่งนี้ได้กลายเป็นเอกลักษณ์ทางประวัติศาสตร์ของชุมพร เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2529 จากการที่รัฐบาลสหภาพพม่าส่งกำลังทหารเข้ายึดพื้นที่บริเวณรอบเนิน 491 อันเป็นการละเมิดอธิปไตยของประเทศไทย ต่อมารัฐบาลได้ใช้ยุทธวิธีทางการทูตเจรจาจนกองทหารสหภาพพม่าถอนกำลังออกไป ปัจจุบันจังหวัดชุมพรกำลังพัฒนาเนิน 491 ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติและทางประวัติศาสตร์ เพื่อเป็นพักผ่อนหย่อนใจและให้เยาวชนรุ่นหลังได้ศึกษาหาความรู้ทางประวัติของไทย
 
[[ด่านทัพต้นไทร (เนิน 491)]] หรือ ด่านเจริญบ่วงราบ เพื่อเป็นเกียรติภูมิตำรวจไทย วีรกรรมของ [[ร้อยตำรวจตรีเจริญ บ่วงราบ]] หัวหน้ากองปราบปราม สถานีตำรวจภูธรจังหวัดชุมพร ปฏิบัติหน้าที่ หัวหน้ากองกำลังผสมพลเรือนตำรวจทหาร (หน.พตท.) บุกเข้าเขตตะนาวศรี ประเทศพม่า ในปี พ.ศ.2493 ขณะที่ พันตำรวจเอก [[เผ่า ศรียานนท์]] ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยอธิบดี รองอธิบดีกรมตำรวจฝ่ายปราบปราม ยศขณะนั้น ร้อยตำรวจตรีเจริญ บ่วงราบ หัวหน้ากองกำลังผสมพลเรือนตำรวจทหาร (หน.พตท.) นำกำลังพลกว่า 100 นาย ข้ามแดนบริเวณ บ้านต้นไทร<ref>บ้านต้นไทร บันทึกตระกูลขุนไกร นายอากร แห่งราชอาณาจักรอยุธยาปลาย</ref> หรือ ด่านทัพต้นไทร (เนิน 491) เพื่อบุกจับนายแพ้ว อุ้ยนอง ที่ลอบสังหาร นาย[[คุ้ม บ่วงราบ]] ผู้ปกครองอาณานิคมสยามในเขตตะนาวศรี ผู้เป็นบิดา
 
== การเดินทาง ==