ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อักขราทร จุฬารัตน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tiemianwusi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:อักขราทร_จุฬารัตน.jpg|thumb|150px|ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.อักขราทร จุฬารัตน ประธานศาลปกครองสูงสุด]]
<!--โปรดอภิปรายที่หน้าอภิปรายก่อน-->
'''อักขราทร จุฬารัตน''' เกิดเมื่อวันที่ [[1 เมษายน]] [[พ.ศ. 2483]] สมรสกับนางสมจิต จุฬารัตน เมื่อ [[พ.ศ. 2511]] เคยดำรงตำแหน่งระดับสูงในการบริหารราชการแผ่นดิน เช่น เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา รวมทั้งดำรงตำแหน่ง[[ศาลปกครอง|ประธานศาลปกครองสูงสุด]]คนแรกของประเทศไทย เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2543 และพ้นจากตำแหน่งเนื่องจากอายุครบ 70 ปี เมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553
 
'''[[ศาสตราจารย์พิเศษ]]<ref>{{cite journal | title = ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งศาสตราจารย์พิเศษ (นายอักขราทร จุฬารัตน) | page = 3864 | url =http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2535/D/044/3864.PDF | journal = ราชกิจจานุเบกษา (เล่ม 109, ตอนที่ 44ง) | date = 2 เมษายน 2535| accessdate = 8 พฤศจิกายน 2555 | format = pdf}}</ref> ดร.อักขราทร จุฬารัตน''' เกิดเมื่อวันที่ [[1 เมษายน]] [[พ.ศ. 2483]] สมรสกับนางสมจิต จุฬารัตน เมื่อ [[พ.ศ. 2511]] เคยดำรงตำแหน่งระดับสูงในการบริหารราชการแผ่นดิน เช่น เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา รวมทั้งดำรงตำแหน่ง[[ศาลปกครอง|ประธานศาลปกครองสูงสุด]]คนแรกของประเทศไทย เมื่อวันที่ 21 ตุลาคม พ.ศ. 2543 และพ้นจากตำแหน่งเนื่องจากอายุครบ 70 ปี เมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553
ต้นตระกูลของอักขราทรคือ [[เจ้าพระยาบวรราชนายก]] หรือ[[เฉกอะหมัด]] ขุนนางเชื้อสาย[[เปอร์เซีย]] ซึ่งเคยดำรงตำแหน่ง[[จุฬาราชมนตรี]] เป็นสมุหราชนายกในแผ่นดิน[[พระเจ้าทรงธรรม]] ในสมัย[[กรุงศรีอยุธยา]] ลูกหลานบางส่วนของนายเฉก อาหมัด เปลี่ยนมานับถือ[[ศาสนาพุทธ]] เช่น ตระกูลบุนนาค ตระกูลจุฬารัตน ส่วนลูกหลานอื่น ๆ ยังคงนับถือ[[ศาสนาอิสลาม]] เช่น ตระกูลอหะหมัดจุฬา
 
ต้นตระกูลของนายอักขราทรคือ [[เจ้าพระยาบวรราชนายก]] หรือ[[เฉกอะหมัด]] ขุนนางเชื้อสาย[[เปอร์เซีย]] ซึ่งเคยดำรงตำแหน่ง[[จุฬาราชมนตรี]] เป็นสมุหราชนายกในแผ่นดิน[[พระเจ้าทรงธรรม]] ในสมัย[[กรุงศรีอยุธยา]] ลูกหลานบางส่วนของนายเฉก อาหมัด เปลี่ยนมานับถือ[[ศาสนาพุทธ]] เช่น ตระกูลบุนนาค ตระกูลจุฬารัตน ส่วนลูกหลานอื่น ๆอื่นๆ ยังคงนับถือ[[ศาสนาอิสลาม]] เช่น ตระกูลอหะหมัดจุฬา
 
== การศึกษา ==
บรรทัด 23:
* ประธานศาลปกครองสูงสุด พ.ศ. 2543-2553
 
นอกจากนี้ นายอักขราทร จุฬารัตน ยังเคยดำรงตำแหน่งสำคัญ ๆสำคัญๆ เป็นต้นว่าอาทิ กรรมการร่างรัฐธรรมนูญ (พ.ศ. 2517) สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (พ.ศ. 2520-2522) กรรมาธิการร่างรัฐธรรมนูญ (พ.ศ. 2521) กรรมการร่างกฎหมาย (พ.ศ. 2528) และกรรมการวินิจฉัยร้องทุกข์ (พ.ศ. 2538) ในคณะกรรมการกฤษฎีกา สมาชิกวุฒิสภา (พ.ศ. 2539-2543) รองประธานคณะตุลาการรัฐธรรมนูญ (พ.ศ. 2549) รองประธานศาลรัฐธรรมนูญ (พ.ศ. 2550-2551) กรรมการกฤษฎีกา (พ.ศ. 2552-ปัจจุบัน) รวมทั้งท่านยังเคยทำหน้าที่เป็นผู้บรรยายในมหาวิทยาลัยและหน่วยงานต่าง ๆต่างๆ หลายแห่ง เช่น เป็นผู้บรรยายวิชานิติกรรมสัญญา คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
 
นายอักขราทร จุฬารัตน ได้รับการแต่งตั้งเป็นศาสตราจารย์พิเศษของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อ พ.ศ. 2535<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2535/D/044/3864.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งศาสตราจารย์พิเศษ นายปรีดี เกษมทรัพย์ นายคณิต ณ นคร นายอักขราทร จุฬารัตน]</ref> ได้รับรางวัลนิติโดม (พ.ศ. 2539) ได้รับเลือกโดยที่ประชุมใหญ่สมาคมศาลปกครองสูงสุดระหว่างประเทศให้ตำรงตำแหน่งประธานศาลปกครองระหว่างประเทศ (พ.ศ. 2548-2551) ได้รับรางวัลสัญญา ธรรมศักดิ์ ประเภทนักกฎหมายดีเด่น (พ.ศ. 2549)
 
ปัจจุบัน นายอักขราทร จุฬารัตน พ้นจากตำแหน่งประธานศาลปกครองสูงสุด เนื่องจากมีอายุครบ 70 ปี และโดยขณะนี้ทำหน้าที่เป็นกรรมการกฤษฎีกากับและนายกสภามหาวิทยาลัยมหาสารคาม ทั้งนี้ตั้งแต่วันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2554 เป็นต้นไป
 
== คดียุบพรรค ==
หลังการ[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549|รัฐประหาร พ.ศ. 2549]] ได้รับแต่งตั้งเป็นรองประธาน[[คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย)|ตุลาการรัฐธรรมนูญ]]<ref>[http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9500000062040 พลิกประวัติ-ผลงาน ‘9 ตุลาการรัฐธรรมนูญ’ ผู้ตัดสินคดีประวัติศาสตร์ จาก[[ผู้จัดการออนไลน์]]]</ref> (ทำหน้าที่แทน [[ศาลรัฐธรรมนูญ]] ตาม[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับชั่วคราว พุทธศักราช 2549]]) คำพิพากษาส่วนตัวใน[[คดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549|คดียุบพรรค]] ของนายอักขราทร ให้ยุบ[[พรรคไทยรักไทย]]และตัดสิทธิกรรมการบริหารพรรคทั้งหมด 111 คน เป็นเวลา 5 ปี ผลจากการตัดสินคดีดังกล่าว ทำให้ ศ.ดร.อักขราทร ถูกข่มขู่ โดยมีผู้นำระเบิดวางไว้หน้าบ้าน ซึ่งตำรวจสันนิษฐานว่าเป็นการสร้างสถานการณ์ แต่เหล่าสื่อมวลชนบางกลุ่มต่างกล่าวกันว่าเป็นการแก้แค้นของ พันตำรวจโททักษิณ ชินวัตร{{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน}}
 
หลังการ[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2549|รัฐประหาร พ.ศ. 2549]] ได้รับแต่งตั้งเป็นรองประธาน[[คณะตุลาการรัฐธรรมนูญ (ประเทศไทย)|ตุลาการรัฐธรรมนูญ]]<ref>[http://www.manager.co.th/Politics/ViewNews.aspx?NewsID=9500000062040 พลิกประวัติ-ผลงาน ‘9 ตุลาการรัฐธรรมนูญ’ ผู้ตัดสินคดีประวัติศาสตร์ จาก[[ผู้จัดการออนไลน์]]]</ref> (ทำหน้าที่แทน [[ศาลรัฐธรรมนูญ]] ตาม[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับชั่วคราว พุทธศักราช 2549]]) คำพิพากษาส่วนตัวใน[[คดียุบพรรคการเมือง พ.ศ. 2549|คดียุบพรรค]] ของนายอักขราทร ให้ยุบ[[พรรคไทยรักไทย]]และตัดสิทธิกรรมการบริหารพรรคทั้งหมด 111 คน เป็นเวลา 5 ปี ผลจากการตัดสินคดีดังกล่าว ทำให้อักขราทร ถูกข่มขู่ โดยมีผู้นำระเบิดวางไว้หน้าบ้าน ซึ่งตำรวจสันนิษฐานว่าเป็นการสร้างสถานการณ์{{ต้องการอ้างอิงเฉพาะส่วน}}
 
== เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ==
เส้น 43 ⟶ 42:
 
[[หมวดหมู่:นักกฎหมายชาวไทย]]
[[หมวดหมู่:ข้าราชการฝ่ายตุลาการชาวไทย]] <!-- ผู้พิพากษา เป็นข้าราชการฝ่ายตุลาการ ไม่ใช่ข้าราชการพลเรือน -->
[[หมวดหมู่:ผู้พิพากษาไทย]]
[[หมวดหมู่:ตุลาการศาลปกครองไทย]]
[[หมวดหมู่:ตุลาการรัฐธรรมนูญ]]
[[หมวดหมู่:ศาสตราจารย์พิเศษ]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]]
เส้น 55 ⟶ 57:
[[หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.ว.ม.]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ท.จ. (ฝ่ายหน้า)]]
 
{{เกิดปี|2483}}
{{โครงชีวประวัติ}}