ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาเรนโบว์เทราต์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Plesiosaur (คุย | ส่วนร่วม)
Plesiosaur ย้ายหน้า ปลาเรนโบว์เทราท์ ไปยัง ปลาเรนโบว์เทราต์: ชื่อสามัญ
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 21:
}}
 
'''ปลาเรนโบว์เทราท์สายรุ้งราต์''' หรือ '''ปลาเทราต์สายรุ้ง''' (rainbow{{lang-en|Rainbow trout}}; {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Oncorhynchus mykiss}}) เป็นปลาชนิดหนึ่งใน[[Salmonidae|วงศ์ปลาแซลมอน]] (Salmonidae) จัดอยู่ในจำพวก[[ปลาแซลมอน]] อาศัยอยู่ในสาขาแม่น้ำที่ไหลสู่[[มหาสมุทรแปซิฟิก]]ใน[[ทวีปเอเชีย]]และ[[ทวีปอเมริกาเหนือ]] เป็นปลาชนิดเดียวกันกับปลา '''steelhead''' ซึ่งเป็นช่วงที่มีวงจรชีวิตอาศัยอยู่ในทะเล ปกติจะว่ายจากทะเลสู่แม่น้ำเพื่อวางไข่หลังจากอาศัยอยู่ในทะเลไปแล้วสองถึงสามปี บ่อยครั้งมักเรียกว่า2-3 '''salmonปี trout'''<ref> {{cite web |title=Salmon Trout |publisher=Lewis and Clark Fort Mandan Foundation |url=http://lewis-clark.org/content/content-article.asp?ArticleID=1931 |accessdate=2010-10-23 }}</ref>
 
ปลาเรนโบว์เทราต์มักถูกนำมาเลี้ยงเพื่อเป็นอาหารและ[[ตกปลา|ตกเป็นเกมกีฬา]] ได้ถูกเพาะเลี้ยงและนำเข้าสู่ประเ้ทศต่าง ๆ ที่มิใช่แหล่งกำเนิดดั้งเดิมถึง 87 ประเทศ อาทิ [[เยอรมนี]], [[ฟินแลนด์]], [[แอฟริกาใต้]], [[ออสเตรเลีย]], [[นิวซีแลนด์]], [[ญี่ปุ่น]] ทั้งในประเทศในเขตอบอุ่นและเขตหนาว หรือแม้แต่้เขตร้อน เพื่อสนองความต้องการในการบริโภคและตกเป็นเกมกีฬา<ref name="ปลา"/>
ปลาเทราท์สายรุ้งมักถูกนำมาเลี้ยงเพื่อเป็นอาหารหรือปลาเกม เนื่องจากมีรสชาติอร่อย เช่น หน่วยวิจัยประมงน้ำจืดบนพื้นที่สูงอินทนนท์ในประเทศไทย
 
ปลาเรนโบว์เทราต์ เป็นปลาที่ดั้งเดิมอาศัยอยู่ใน[[ลำธาร]]หรือ[[ทะเลสาบ]]ที่น้ำมีอุณหภูมิที่เย็น (ไม่เกิน 20 องศาเซลเซียส) ขณะที่บางข้อมูลระุบุว่าไม่เกิน 25 องศาเซลเซียส เป็นปลาที่มีสัญชาติญาณนักล่าอยู่ในตัว โดยเป็นปลาที่กิน[[สัตว์น้ำ]]ต่าง ๆ ไม่เลือก ทั้งปลาและ[[แมลงน้ำ]] ด้วยสรีระที่เป็นทรงกระสวย หางมีขนาดใหญ่ช่วยในการว่ายทวนกระแสน้ำได้เป็นอย่างดี ถึงแม้จะไม่มีัฟันหรือเขี้่ยวขนาดใหญ่ แต่ก็มีจะงอยปากที่เป็นลักษณะตะขอ เมื่อสบกับจะงอยปากบนที่เป็นร่องลึกก็จะประกบกันได้ลงตัวพอดี ทำให้จับเหยื่อได้อย่างมั่นคง มีขนาดโตเต็มที่ได้ถึง 1.2 เมตร [[น้ำหนัก]]กว่า 25 กิโลกรัม สีตามลำตัวสวยงาม เนื้อมีรสชาติดี มีก้างน้อย และัยังมี[[กรดไขมันไม่อิ่มตัว]]ชนิด [[โอเมกา3]] อยู่ในปริมาณที่มากด้วย<ref name="ปลา"/>
 
จากรายงานของ[[องค์การระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ]] (IUCN) ในการจัดอันดับ[[ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น]]ที่มีประสิทธิภาพในการรุกรานสิ่งมีชีวิตพื้นถิ่นให้เสียหายอย่างรุนแรง 100 อันดับแรก มีปลาอยู่ 5 ชนิด และหนึ่งในนั้นก็คือ ปลาเรนโบว์เทราต์<ref name="ปลา"/>
 
ปลาเรนโบว์เทราต์ ได้ถูกนำเข้ามาใน[[ประเทศไทย]]ด้วยการเป็นไข่ปลาจากสหรัฐอเมริกา ที่สถานีเพาะเลี้ยง ใน[[โครงการหลวง]] ที่[[ดอยอินทนนท์]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2541]] จนประสบความสำเร็จ มีลูกปลาที่รอดจากการฟักถึงร้อยละ 90 สามารถผลิตปลาได้ปริมาณสูงถึง 18-20 [[ตัน]]ต่อปี แต่ก็มีประชากรบางส่วนที่หลุดรอดไปสู่แหล่งน้ำธรรมชาติ มีรายงานการพบลูกปลาขนาดเล็กมีความยาวประมาณ 2-3 เซนติเมตร หลุดรอดออกมาจากสถานีเพาะเลี้ยง และพบปลาขนาดใหญ่ราว 1 ฟุตอยู่ในลำธารใกล้ ๆ สถา่นีเพาะเลี้ยง และมีการจับปลาขนาดใหญ่ได้ในช่วงท้ายน้ำของผู้คนพื้นถิ่น จากการให้สัมภาษณ์ของคนพื้นถิ่นพบว่า ตั้งแต่มีปลาเรนโบว์เทราต์เข้ามา ลูกปลาชนิดต่าง ๆ ก็ได้หายไปเป็นจำนวนมาก จึงหวั่นเกรงกันว่าจะเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมต่อไป<ref name="ปลา">''ปลาเทราต์สายรุ้ง การรุกรานของชนิดพันธุ์ต่างถิ่น'' หน้า 28-32 โดย siamensis.org. [[สารคดี (นิตยสาร)|สารคดี]]: ปีที่ 25 ฉบับที่ 289: [[มีนาคม]] 2552</ref>
 
==อ้างอิง==
เส้น 33 ⟶ 39:
==แหล่งข้อมูลอื่น==
{{Commons category|Oncorhynchus mykiss}}
{{wikispecies-inline|Oncorhynchus mykiss}}
*[http://www.igfa.org/records/Fish-Records.aspx?Fish=Trout,%20rainbow&LC=ATR] IGFA World Record for Rainbow Trout
*[http://www.alamedacreek.org/Steelhead%20trout/steelhead%20listing%20status.gif Map showing endangered species status of West Coast steelhead]
เส้น 52 ⟶ 58:
[[Category:ปลาแซลมอน]]
[[Category:ปลาเกม]]
[[หมวดหมู่:ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น]]
 
[[af:Reënboogforel]]
[[az:Al-əlvan qızılxallı]]