ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เดอะบริดจ์ออนเดอะริเวอร์แคว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JYBot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.1) (โรบอต เพิ่ม: eo:The Bridge on the River Kwai (filmo), eu:The Bridge on the River Kwai
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 26:
}}
 
'''''เดอะบริดจ์ออนเดอะริเวอร์แคว''''' ({{lang-en|The Bridge on the River Kwai}}) หรือ '''''สะพานข้ามแม่น้ำแคว''''' ชื่อในThai PBS"สะพานเดือดเลือดเชลยศึก"เป็น[[ภาพยนตร์]][[อังกฤษ]]ที่ ออกฉายใน ปี พ.ศ. 2500 สร้างจากนวนิยายผลงานของเซอร์[[ภาษาฝรั่งเศสเดวิด ลีน]]ชื่อ "Leผู้กำกับภาพยนตร์ยิ่งใหญ่ Pontเช่น de la Rivière Kwai" (หรือ The Bridge over the River Kwai) ของ[[ปิแอร์ บูเลลอเรนซ์แห่งอาราเบีย]] อดีตทหารผ่านศึกชาวฝรั่งเศสที่ตกเป็นเชลยของ[[กองทัพญี่ปุ่น]],ดร.ชิวาโก และเป็นแรงงานสร้าง[[สะพานข้ามแม่น้ำแคว]]และ[[ทางรถไฟสายมรณะ]],ลูกสาวไรอัน ที่[[จังหวัดกาญจนบุรี]] ในระหว่าง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]ฯลฯ
==โครงเรื่อง==
 
สร้างจากนวนิยาย[[ภาษาฝรั่งเศส]]ชื่อ "Le Pont de la Rivière Kwai" (หรือ The Bridge over the River Kwai) ของ[[ปิแอร์ บูเล]] อดีตทหารผ่านศึกชาวฝรั่งเศสที่ตกเป็นเชลยของ[[กองทัพญี่ปุ่น]] และเป็นแรงงานสร้าง[[สะพานข้ามแม่น้ำแคว]]และ[[ทางรถไฟสายมรณะ]] ที่[[จังหวัดกาญจนบุรี]] ในระหว่าง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]
ภาพยนตร์เรื่องนี้ไม่ได้ถ่ายทำในประเทศไทย แต่ถ่ายทำที่เมือง Kitulgala ทางตะวันตกของ[[ประเทศศรีลังกา]] และบางส่วนถ่ายทำที่ประเทศอังกฤษ
 
จุดประสงค์คือต้องการแสดงให้ผู้ชมตระหนักว่าสงครามไม่เคยให้คุณนอกจากการสูญเสียของทุกฝ่าย โดยใช้เหตุการณ์จริงเป็นเค้าโครงของเรื่องและตัวละครที่สมมติขึ้น
เพลงประกอบภาพยนตร์เรื่องนี้ ที่มีชื่อเสียงคือ เพลง Colonel Bogey March [http://news.bbc.co.uk/olmedia/100000/audio/_100875_colonel_bogey_march_from_bridge_on_the_river_kwai.ram (ฟังเสียง)]เป็น[[เพลงมาร์ช]]ของกองทัพอังกฤษซึ่งแต่งขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2457 ในภาพยนตร์ไม่ได้ใช้เครื่องดนตรีบรรเลง แต่ใช้เสียง[[ผิวปาก]]เป็นทำนอง
 
==งานสร้างและสถานที่ถ่ายทำ==
ภาพยนตร์ The Bridge on the River Kwai ได้เสนอชื่อเข้าชิง[[รางวัลออสการ์]]ประจำปี 1957 จำนวน 8 สาขา ได้รับ 7 รางวัลจากสาขาผู้กำกับยอดเยี่ยม นักแสดงนำชาย กำกับภาพ ตัดต่อ บทภาพยนตร์ดัดแปลง ดนตรีประกอบ และภาพยนตร์ยอดเยี่ยม
 
ระบบ 35 มม. ซีเนมาสโคป สีเทคนิค ถ่ายทำที่เมือง Kitulgala ทางตะวันตกของ[[ประเทศศรีลังกา]] ซึ่งมีทัศนยภาพเชิงศิลป์เหมาะสมสำหรับการทำภาพยนตร์ในสายตาผู้กำกับ โดยเฉพาะสะพานไม้ที่ออกแบบสร้างใหม่ให้ดูยิ่งใหญ่ ต่างจากของจริงจากภาพถ่ายในอดีตอย่างสิ้นเชิง และบางส่วนถ่ายทำที่ประเทศอังกฤษ
นักแสดงชาวไทยที่ร่วมแสดงในภาพยนตร์เรื่องนี้ ได้แก่ [[หม่อมราชวงศ์พงษพรหม จักรพันธุ์]] รับบทนายพราน <ref>{{อ้างหนังสือ
 
==เพลงประกอบ==
 
เพลงประกอบภาพยนตร์เรื่องนี้ ที่มีชื่อเสียงคือ เพลง Colonel Bogey March [http://news.bbc.co.uk/olmedia/100000/audio/_100875_colonel_bogey_march_from_bridge_on_the_river_kwai.ram (ฟังเสียง)]เป็น[[เพลงมาร์ช]]ของกองทัพอังกฤษซึ่งแต่งขึ้นตั้งแต่ปี พ.ศ. 2457 (ในภาพยนตร์ไม่ได้ใช้เครื่องดนตรีบรรเลง แต่ใช้เสียงทำนอง[[ผิวปาก]]เป็นทำนอง เท่านั้นไม่มีเครื่องดนตรีบรรเลง )
 
==รางวัล==
 
ภาพยนตร์ The Bridge on the River Kwai ได้เสนอชื่อเข้าชิง[[รางวัลออสการ์]]ประจำปี 1957 จำนวน 8 สาขา และได้รับ 7 รางวัลจากสาขาได้แก่ ผู้กำกับยอดเยี่ยม นักแสดงนำชาย กำกับภาพ ตัดต่อ บทภาพยนตร์ดัดแปลง ดนตรีประกอบ และภาพยนตร์ยอดเยี่ยม
==อื่นๆ==
 
นักแสดงประกอบชาวไทยที่ร่วมแสดงในภาพยนตร์เรื่องนี้ ได้แก่ [[หม่อมราชวงศ์พงษพรหม จักรพันธุ์]] รับบทนายพราน <ref>{{อ้างหนังสือ
|ผู้แต่ง=หม่อมราชวงศ์มาลินี จักรพันธุ์
|ชื่อหนังสือ=ต้นกำเนิดที่เกิดเหตุ... เจ้าชายดาราทอง
เส้น 43 ⟶ 55:
|ISBN=974-322-980-9
|จำนวนหน้า=376
}}</ref><!--M.R.B. Chakrabandhu (Colonel Broome) -->,ร่วมด้วยนางเอกภาพยนตร์ไทย [[วิไลวรรณ วัฒนพานิช]]<!--Vilaiwan Seeboonreaung-->, [[งามตา ศุภพงษ์]]<!--Ngamta Suphaphongs-->, เยาวนารถ ปัญญโชติ<!--Javanart Punynchoti--> และกรรณิกา ดาวคลี่ <!--Kannikar Dowklee--> <ref>http://www.imdb.com/title/tt0050212/fullcredits#cast</ref><ref>http://www.reurnthai.com/index.php?topic=1498.45</ref> นอกจากนี้ ''เดอะบริดจ์ออนเดอะริเวอร์แคว'' ยังถือเป็นภาพยนตร์ที่นักลงทุนระดับโลกอย่าง [[วอร์เรน บัฟเฟตต์]] ประทับใจมากที่สุดอีกด้วย<ref>[http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/politics/opinion/sawai/20120120/430878/มุมมองของวอร์เรน-บัฟเฟตต์.html มุมมองของวอร์เรน บัฟเฟตต์]</ref>
 
 
 
== อ้างอิง ==